ศึกษาหลักพื้นฐานเบื้องต้นในทางเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีการภาษี แหล่งที่มาของรายรับของรัฐบาล ความแตกต่างของรายรับกับรายได้จากการจัดเก็บภาษี ความสำคัญของภาษีอากร วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บภาษี ลักษณะที่ดีของภาษี ประเภทของภาษีอากร ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษี นโยบายการคลังเกี่ยวกับภาษี ภาษีอากรที่จัดเก็บในประเทศไทย หลักการโครงสร้างและวิธีการของภาษีที่สำคัญ เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสรรพสามิต ภาษีป้าย ภาษีศุลกากร เป็นต้น
หลักสูตร
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาความหมายและบทบาทของเงินและเครดิต หลักการให้เครดิต เครื่องมือเครดิต ภาวะทางการเงินที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด การเงินระหว่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน ระบบธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่นที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์ การดำเนินงานของธนาคารกลาง นโยบายการเงินในการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ ตลาดเงินและตลาดทุนในประเทศ ตลอดจนตลาดเงินตลาดทุนและสถาบันการเงินระหว่างประเทศ การแก้ปัญหาทางการเงินและการธนาคารของประเทศไทย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาหลักเศรษฐศาสตร์ที่ผู้บริโภคสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์ อุปทานและการทำงานของกลไกราคา ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค การวางแผนการออมเพื่อการใช้จ่ายในอนาคต ตลาดประเภทต่างๆ รวมถึงความล้มเหลวของตลาดที่ส่งผลกระทบต่อสวัสดิการของผู้บริโภค ระบบการเงินและการธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง ตลอดจนนโยบายการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อผู้บริโภค
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจและอุตสาหกรรม การวิเคราะห์อุปสงค์อุปทาน การกำหนดราคา ต้นทุนและฟังก์ชันการผลิต การวางแผนด้านกำไร การคิดค่าเสื่อมราคา การตั้งเงินทุนงบประมาณ วงจรธุรกิจ การวิเคราะห์การตัดสินใจในการลงทุน ความสัมพันธ์และผลกระทบของปัจจัยทางเศรษฐกิจต่อธุรกิจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาความหมายของโครงการและการประเมินโครงการ การศึกษาโครงการ สภาพแวดล้อมที่จะมีผลกระทบต่อการดำเนินโครงการ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางด้านการบริหาร การผลิต การตลาด การเงิน และคุณค่าทางเศรษฐกิจของโครงการ หลักการตัดสินใจ การเตรียมรายงาน การศึกษาความเป็นไปได้ การติดตามและประเมินผลโครงการ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาระบบตลาด ความหมายและบทบาทพื้นฐานของการตลาดที่มีผลต่อองค์การธุรกิจ ส่วนผสมพื้นฐานทางการตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาด การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของระบบการตลาด พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีผลต่อการวางแผนทางการตลาด การกำหนดเป้าหมายและการแบ่งส่วนตลาด รวมถึงนโยบายผลิตภัณฑ์ใหม่และวัฏจักรผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังรวมถึงองค์ประกอบในการบริหารส่วนผสมทางการตลาด เช่น นโยบายการส่งเสริมการจำหน่าย นโยบายช่องทางการจัดจำหน่าย ระบบการวิจัยตลาด และฐานข้อมูลทางการตลาด
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาองค์การและความเป็นระบบเปิดขององค์การ พื้นฐานของกระบวนการจัดองค์การ การจัดแผนกงาน โครงสร้างองค์การและการแบ่งงานภายใน สายการบังคับบัญชา อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ การมอบหมายงาน การรวมอำนาจและการกระจายอำนาจ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจขององค์การและความไม่แน่นอนในการดำเนินงาน วัฒนธรรมองค์การ กลุ่มและการบริหารความขัดแย้ง การส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในองค์การ กลยุทธ์การจัดการและความมีประสิทธิภาพขององค์การ ขนาดขององค์การ วงจรชีวิตและความเสื่อมถอยขององค์การ อำนาจและการเมืองภายในองค์การ การบริหาร การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การไปสู่การเป็นองค์การที่มีศักยภาพ ตลอดจนการศึกษาถึงกรณีศึกษาของกิจกรรมต่างๆ และอภิปรายในแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับการจัดองค์การ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาหลักการบริหารงานในองค์การที่มุ่งหวังกำไรและไม่มุ่งหวังผลกำไรในส่วนของการจัดการและกระบวนการจัดการทำกำไรภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นพลวัตร ซึ่งประกอบด้วย ความคิดเชิงระบบและการตัดสินใจ การวางแผนและการวางแผนกลยุทธ์ การสรรหาและการคัดเลือกพนักงานและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การจัดองค์การและการติดต่อสื่อสาร สภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ กระบวนการควบคุมและประเมินผล นอกจากนี้ยังรวมถึงจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม การเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เทคโนโลยีข่าวสารข้อมูล และวิวัฒนาการของการจัดการเพื่อตอบรับต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน<?xml:namespace prefix = o />
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาความจำเป็นที่ต้องมีกฎหมายใช้บังคับในสังคม ความหมายของกฎหมาย ลักษณะของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย กฎหมายการทะเบียนราษฎร์ กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน บุคคล ครอบครัว มรดก พินัยกรรม การทำเอกสารและสัญญา ความรู้เกี่ยวกับทรัพย์ ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน หลักเกณฑ์ของกฎหมายในการทำนิติกรรมและสัญญา สัญญาประเภทต่าง ๆ ที่พบได้บ่อย ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายอาญา ความรับผิดในทางอาญา เหตุยกเว้นความผิดและเหตุ ยกเว้นโทษ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาความรู้พื้นฐานของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หลักเกณฑ์ทั่วไปในการใช้กฎหมายแพ่ง หลักเกณฑ์ทั่วไปในการทำเอกสาร ความรู้เกี่ยวกับบุคคล การทำนิติกรรมและสัญญา การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนและบริษัท เอกเทศสัญญาอันได้แก่ สัญญาซื้อขาย สัญญาขายฝาก สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาให้ สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ สัญญาค้ำประกัน สัญญาจำนอง สัญญาจำนำ และสัญญายืม
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องและนำไปใช้ในการทำธุรกิจได้ หลักกฎหมายในการทำนิติกรรมและสัญญา ได้แก่สัญญาตัวแทน สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนและบริษัท สัญญาซื้อขาย สัญญาขายฝาก สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ สัญญาค้ำประกัน สัญญาจำนอง และสัญญาจำนำ กฎหมายลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า กฎหมายล้มละลาย เช็ค และความผิดอาญาที่เกิดจากการใช้เช็ค
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาถึงลักษณะทั่วไป สาระสำคัญ ประเภท การได้มา ความเป็นเจ้าของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ความคุ้มครองและวิธีการขอรับความคุ้มครองตามกฎหมายในทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท ได้แก่ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า แบบผังรูปของวงจรรวม ความลับทางการค้า พันธุ์พืช สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์รวมทั้งลักษณะและรูปแบบของทรัพย์สินทางปัญญาและกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับความรู้สำหรับผู้ประกอบการ ในด้านกฎหมายธุรกิจ อันประกอบด้วย กระบวนการจัดตั้งองค์กรสถานประกอบการ การทำนิติกรรมสัญญาทางธุรกิจ การจ้างแรงงาน การทำธุรกรรมทางการเงิน การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การประนอมหนี้และการเร่งรัดหนี้สิน ภาษีทางธุรกิจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับความหมาย ประเภทและรูปแบบของธุรกิจหลักเบื้องต้นในการทำสัญญาทางธุรกิจ การเริ่มต้นและการจดทะเบียนธุรกิจในรูปแบบต่างๆ รวมถึงธุรกิจแฟรนไชส์ และธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต เช็คและการใช้เช็ค การเบิกเงินเกินบัญชีและการขายลดเช็ค ความรับผิดของผู้บริหารกิจการในทางแพ่งและทางอาญา และหลักการภาษีเบื้องต้นสำหรับผู้ประกอบการ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการในการขอใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพทางวิศวกรรม ได้แก่ การทำสัญญาทางวิศวกรรม การทำธุรกรรมทางการเงิน การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในรูปองค์กรธุรกิจ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรงงาน แรงงาน ความปลอดภัยในการทำงาน สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมตามข้อบังคับของสภาวิศวกร จริยธรรมและความรับผิดในทางกฎหมายสำหรับวิชาชีพวิศวกรรม
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาพื้นฐานและขอบข่ายของสังคมวิทยา ทฤษฎีและแนวคิดทางสังคมวิทยา กลุ่มชุมชนและกระบวนการกลุ่ม การจัดระเบียบทางสังคม สถาบันทางสังคม การกล่อมเกลาเรียนรู้ทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม พฤติกรรมรวมหมู่และพฤติกรรมเบี่ยงเบน รวมทั้งปัญหาสังคม
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาสภาพทั่วไปของการเมืองการปกครอง หลักและแนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตย ประวัติการเมืองการปกครองไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สถาบันทางการเมือง กระบวนการและพฤติกรรมทางการเมือง ปัญหาและแนวโน้มการเมืองการปกครองของไทย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาความหมายและความสำคัญของรัฐธรรมนูญ หลักการและทฤษฎีทางรัฐธรรมนูญ ประวัติความเป็นมาของรัฐธรรมนูญไทย สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ รวมทั้งการศึกษาดูงานนอกสถานที่ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาแนวความคิดของการบริหารเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของธุรกิจ การกำหนดทางเลือกและแผนกลยุทธ์ การปฏิบัติการ ดำเนินการกลยุทธ์ การประเมินผลและควบคุมกลยุทธ์ โดยที่กรณีศึกษาของธุรกิจประเภทต่างๆ ถูกนำมาวิเคราะห์ร่วมด้วย<?xml:namespace prefix = o />
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อธุรกิจระหว่างประเทศ การบังคับควบคุมธุรกิจระหว่างประเทศของรัฐบาล การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและสนธิสัญญาการค้าระหว่างประเทศ กลยุทธ์การค้าระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ ระบบการเงินและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ตลาดปริวรรตเงินตราระหว่างประเทศ การบริหารและจัดองค์การบริษัทข้ามชาติ การจัดการการตลาดระหว่างประเทศ การจัดการการผลิตระหว่างประเทศ การจัดการการเงินระหว่างประเทศ ระบบบัญชีและภาษีอากรระหว่างประเทศ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดย่อมและผู้ประกอบการ รูปแบบของธุรกิจขนาดย่อม วิธีการประกอบการธุรกิจขนาดย่อม แผนงานธุรกิจ กลยุทธ์การจัดการธุรกิจขนาดย่อม การเลือกทำเลที่ตั้งของธุรกิจขนาดย่อม การจัดการการตลาดในธุรกิจขนาดย่อม นโยบายราคาและการจัดการการขายเชื่อ ระบบบัญชีและการบันทึกข้อมูลทางการเงิน การจัดการการเงินในธุรกิจขนาดย่อม การตัดสินใจทางการเงิน การจัดองค์การและการจัดการบุคลากรในธุรกิจขนาดย่อม การจัดการการผลิตในธุรกิจขนาดย่อม และการจัดการ สินค้าคงคลังและห่วงโซ่ของสินค้า
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ศึกษาพื้นฐานที่สำคัญของการประกอบธุรกิจ สำหรับการเริ่มต้นเป็นผู้ประกอบการด้วยตนเอง อันประกอบด้วยความรู้ทางด้านธุรกิจ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สภาพแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจ และ จริยธรรมทางธุรกิจ