วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้คัดเลือก
หลักสูตร
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
หลักการทั่วไปของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถาปัตยกรรมและชุดโพรโทคอลทีซีพีไอพี หน้าที่การทำงานของชั้นอินเทอร์เน็ต การอ้างที่อยู่ของระบบอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ไอซีเอ็มพี เออาร์พี ตลอดจน ดีเอชซีพี หลักการทั่วไปของการเลือกเส้นทางในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หลักการทำงานของโพรโทคอลยูดีพีและทีซีพี หลักการทำงานและการประยุกต์ใช้งานของ เทลเน็ต เอฟทีพี ระบบดีเอ็นเอส ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โพรโทคอลเอสเอ็มทีพี พีโอพี ไอเอ็มเอพี ระบบเว็บและโพรโทคอลเอชทีทีพี ไฟร์วอลล์ การแปลงที่อยู่เครือข่าย และการจัดการระบบเครือข่ายโดยใช้โพรโทคอลเอสเอ็นเอ็มพี กรณีศึกษาโดยใช้ซอฟท์แวร์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบปฏิบัติการลักษณะยูนิกส์ เพื่อให้สามารถนำไปสร้างระบบสำหรับการให้บริการในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การนำทฤษฎีการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปปฏิบัติกับอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่าย เช่น อุปกรณ์หาเส้นทาง และอุปกรณ์สวิทชิ่ง และระบบปลายทางอย่างระบบเครือข่ายไอพี ทั้งแบบเซกเมนต์เดียว และหลายเซกเมนต์ โพรโทคอล การหาเส้นทางต่างๆ การควบคุมการผ่านเข้าออก การสร้างเครือข่ายด้วยอุปกรณ์แลนสวิทชิ่ง การสร้างเครือข่ายแลนเสมือน โพรโทคอลชั้นทรานสปอร์ตต่างๆ โพรโทคอลสนับสนุนการแปลงหมายเลขไอพี โพรโทคอลสนับสนุนติดตั้งค่ากำหนดที่โฮสท์คอมพิวเตอร์แบบไดนามิก (ดีเอชซีพี) โพรโทคอลเครือข่ายแวน เช่น พีพีพี และเฟรมรีเลย์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
สถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอลโทรเลอร์ ชุดคำสั่ง ชนิดของหน่วยความจำไฟฟ้าและแผนผังวงจร การเชื่อมต่ออุปกรณ์อินพุต เอาต์พุต การเชื่อมต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน การเชื่อมต่อแบบซิงโครนัสและอะซิงโครนัส การประยุกต์ สั่งงานอุปกรณ์อินพุต เอาต์พุตในลักษณะต่างๆ ตลอดจน การเชื่อมต่อระหว่างสัญญาดิจิทัลกับสัญญาณแอนะล็อก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
เทคโนโลยีของหุ่นยนต์ รูปแบบทางกลศาสตร์ ประเภทของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าต่างๆ การควบคุมผ่านวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ตัวตรวจจับชนิดต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุมหุ่นยนต์ ไมโครคอนโทรลเลอร์และการเชื่อมต่อระบบหุ่นยนต์ พฤติกรรมของหุ่นยนต์ ที่เน้นการประยุกต์อัลกอริทึมเพื่อออกแบบการทำงานของหุ่นยนต์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
เทคโนโลยีของหุ่นยนต์ รูปแบบทางกลศาสตร์ ประเภทของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าต่างๆ การควบคุมผ่านวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ตัวตรวจจับชนิดต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุมหุ่นยนต์ ไมโครคอนโทรลเลอร์และการเชื่อมต่อระบบหุ่นยนต์ พฤติกรรมของหุ่นยนต์ ที่เน้นการประยุกต์อัลกอริทึมเพื่อออกแบบการทำงานของหุ่นยนต์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การแนะนำระบบฝังตัว สถาปัตยกรรมระบบฝังตัว แบบจำลองระบบฝังตัว และมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับระบบฝังตัว แผนภาพเค้าร่าง ส่วนประกอบแพสซิฟและแอ็กทิฟ แผงวงจรระบบฝังตัวซึ่งประกอบด้วย ตัวประมวลผลฝังตัว หน่วยความจำ อินพุตและเอาต์พุต บัสและโปรแกรมขับอุปกรณ์ ระบบปฏิบัติการฝังตัว มิดเดิลแวร์ และซอฟต์แวร์ระดับงานประยุกต์ รวมทั้งกระบวนการพัฒนาระบบฝังตัว และการพัฒนาซอฟต์แวร์งานประยุกต์สำหรับระบบฝังตัว
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
แนวคิดเครือข่ายเบื้องต้น อุปกรณ์และองค์ประกอบของระบบเครือข่าย รวมถึงการจัดการเครือข่ายเบื้องต้น ความต้องการด้านการจัดการ เช่น การจัดการด้านความผิดพลาด บัญชี การปรับตั้งค่า ประสิทธิภาพและความปลอดภัย รวมถึงการพิจารณาความเชื่อถือได้ของระบบเครือข่าย ระบบการจัดการเครือข่ายสถาปัตยกรรมและกรอบการทำงาน หน้าที่ของระบบจัดการ โปรโตคอลและมาตรฐานการจัดการเครือข่าย โครงสร้างข้อมูลจัดการ เอสเอ็นเอ็มพี ซอฟต์แวร์และผลิตภัณฑ์การจัดการเครือข่าย ตลอดจนการจัดการเครือข่ายอื่นๆ ที่น่าสนใจ แนวคิดการออกแบบเครือข่าย คุณสมบัติของการจราจรเบื้องต้น วิศวกรรมโทรจราจร
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
เทคโนโลยีของระบบแลนไร้สาย โดยอ้างอิงกับมาตรฐานของระบบแลนไร้สายในรูปแบบต่างๆ เช่น IEEE 802.11 เทคโนโลยีบลูทูท และระบบเครือข่ายไร้สายระยะไกล การออกแบบวางระบบแลนไร้สายและการสำรวจพื้นที่ติดตั้ง แนวคิดพื้นฐานและในทางปฏิบัติ ของมาตรฐานความปลอดภัยที่ใช้ในระบบเครือข่ายแบบไร้สายและการจัดการระบบเครือข่ายไร้สาย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การแนะนำพื้นฐานของระบบสื่อสารเคลื่อนที่ และวิวัฒนาการไปสู่การสื่อสารเคลื่อนที่ความเร็วสูงในยุคที่ 3 ยุคที่ 3.5 และยุคต่อไป เช่น วายแบนด์ซีดีเอ็มเอ ซีดีเอ็มเอสองพัน เอซเอสพีเอ เอ็นจีเอ็น ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของเทคโนโลยีสื่อสารเคลื่อนที่ เช่น โครงสร้างรวมของระบบ การเข้าถึงพร้อมกันหลายๆคน การจัดการการเคลื่อนที่ แนะนำโครงข่ายการเข้าถึงทางวิทยุความถี่กว้าง โครงข่ายหลักแบบวงจรสวิทช์ และแพคเก็ตสวิตช์ ระบบย่อยไอพีมัลติมีเดีย และโพรโทคอลที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวโน้มของบริการและธุรกิจใหม่ที่ประสบความสำเร็จในตลาดชั้นนำ เช่น บริการไอโหมด บริการการรวมกันของโครงข่ายสื่อสารพื้นฐานและสื่อสารเคลื่อนที่ และบริการการรวมกันของโครงข่ายโทรคมและสื่อสารมวลชน เป็นต้น
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ทฤษฏีพื้นฐานของระบบสื่อสารแบบแอนะล็อกและดิจิทัล วิธีการทางฟูเรียร์ในการวิเคราะห์สัญญานเชิงเวลาและความถี่ การส่งผ่านและตอบสนองของสัญญานในระบบเชิงเส้น กำลังและคอรีเลชันของสัญญาน และวิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์สัญญานสุ่ม เทคนิคการมอดดูเลทรูปแบบต่างๆ ประกอบด้วยการมอดดูเลทเชิงขนาด การมอด-ดูเลทเชิงมุม การมอดดูเลทโดยใช้พัลส์ สัญญานรบกวนและผลกระทบที่เกิดกับระบบสื่อสาร องค์ประกอบของระบบสื่อสาร การส่งผ่านสัญญานเบสแบนด์และแบนด์พาส เทคนิคเสปกตรัมแบบกระจาย รวมทั้งทฤษฏีข่าวสารและการเข้ารหัสเบื้องต้น
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
หลักการและเทคโนโลยีของระบบโครงสร้างพื้นฐาน ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ การจัดการการประยุกต์ใช้งานระบบ กลไกในการตรวจสอบยืนยันผู้ใช้ การควบคุมสิทธิ์ในการทำงาน การบันทึกและตรวจสอบการทำงาน การให้บริการไดเร็คทอรี การจัดการระบบปฏิบัติการ ข้อพิจารณาเกี่ยวกับระบบเครือข่ายประเภทต่างๆ และความปลอดภัยของระบบ ตลอดจนสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบทางกายภาพ หัวข้อที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
สถาปัตยกรรมระบบยูนิกซ์ ทรัพยากร ไลบรารี่ ระบบแฟ้ม การรักษาความปลอดภัย กระบวนการทำงาน การควบคุมกระบวนการทำงาน การติดต่อสื่อสารระหว่างกระบวนการทำงาน การสร้างโปรแกรมบนยูนิกซ์รวมถึงการสร้างโปรแกรมสำหรับติดต่อผ่านเครือข่ายด้วยซ็อกเก็ตชนิดทีซีพี ยูดีพี และรอว์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
หลักการและคุณสมบัติของระบบแบบกระจาย เช่น การติดต่อสื่อสาร กระบวนการทำงาน ระบบชื่อ การทำงานร่วมกัน การทำซ้ำและการคงความเหมือนของทรัพยากร การทนต่อความผิดพลาดในการทำงาน ความปลอดภัยของระบบแบบกระจาย หัวข้อที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับระบบแบบกระจาย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
หลักการสร้างแบบจำลองเลียนแบบและแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ รวมไปถึงทฤษฎีที่เกี่ยวเนื่องกันอย่างการจำลองแบบเชิงสถิติ และเชิงลำดับการสุ่ม พื้นฐานทฤษฎีคิว กระบวนการสุ่ม กระบวนการเกิดดับ และกระบวนการมาร์คอฟ การประยุกต์ในหลากหลายวัตถุประสงค์ ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์และทำนายผลในการออกแบบระบบ หรือในการวางแผนกลยุทธทางธุรกิจและการจัดการ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
หลักการและเทคนิคที่จำเป็น ในการวางแผนขอบเขตความสามารถของระบบเครือข่าย การทำนายประสิทธิภาพของระบบภายใต้การกำหนดค่าการทำงานที่แตกต่างกันไป และการออกแบบเครือข่ายให้รองรับความต้องการโดยการใช้แบบจำลองเครือข่ายคิวเชิงวิเคราะห์และเชิงเลียนแบบ การวิเคราะห์และออกแบบเชิงประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์ แบบกระจาย แบบที่มีการทำงานขนาน และแบบลูกข่ายแม่ข่าย แสดงการใช้เครื่องมือวัดประสิทธิภาพบนระบบปฏิบัติการ เช่น ยูนิกซ์และวินโดว์ ทำกรณีศึกษาการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและการออกแบบเครือข่ายอย่างดีที่สุดในรูปแบบโครงงาน
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและการป้องกันข้อมูลขั้นสูง โมเดลเค้าร่างเชิงแนวคิด การแม็พจากโมเดลเค้าร่างเชิงแนวคิดเป็นโครงสร้างข้อมูลเชิงตรรกะ การกู้คืนโดยใช้เทคนิคลงบันทึกและการใช้แชโดว์เพจจิ้ง การจัดการบัฟเฟอร์ เทคนิคการควบคุมภาวะพร้อมกันแบบต่างๆ การกู้คืนรายการเปลี่ยนแปลงที่ล้มเหลว การแก้ปัญหาภาวะติดตาย ข้อมูลกึ่งโครงสร้างและเอกซ์เอ็มแอล การประมวลผลภาษาสืบค้น การใช้ภาษาสืบค้นอย่างเหมาะสมที่สุด ฐานข้อมูลแบบกระจาย ฐานข้อมูลเชิงอ็อบเจกต์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
พื้นฐานการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ บทบาทคุณภาพซอฟต์แวร์ องค์ประกอบการประกันคุณภาพของระบบซอฟต์แวร์ การรวมห้ากิจกรรมคุณภาพในปรับปรุงคุณภาพซอฟต์แวร์ กำหนดกระบวนการและมาตรฐาน การทวนสอบและการตรวจสอบ เทคนิคระเบียบตรวจสอบ แผนการทดสอบและรายงานการทดสอบ การวัดคุณภาพ แนะนำการวัดคุณภาพซอฟต์แวร์ วิเคราะห์ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการวัด โครงร่างคุณภาพและมาตรฐาน
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การสร้างวิวและลำดับ ชุดตัวดำเนินการ การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ ฟังก์ชันวันที่และเวลา ข้อความจัดกลุ่มข้อมูล ข้อคำถามย่อยขั้นสูง การสร้างพีแอล/เอสคิวแอล การประกาศตัวแปร คำสั่งแบบทำการ โครงสร้างควบคุม ชนิดข้อมูลแบบรวม ตัวชี้ตำแหน่งอย่างชัดแจ้ง การจัดการกับสิ่งผิดปรกติ กระบวนงานและฟังก์ชัน การจัดการกับโปรแกรมย่อย แพ็คเก็จ การจัดการกับอ็อบเจกต์ขนาดใหญ่ ทริกเกอร์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
สถาปัตยกรรมแม่ข่ายฐานข้อมูล การจัดการลูกข่ายฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล พจนานุกรมข้อมูลและวิวแสดงการทำการแบบพลวัต แฟ้มควบคุม แฟ้มรายการทำซ้ำ การบำรุงรักษาเทเบิลสเปซและแฟ้มข้อมูล โครงสร้างหน่วยเก็บ ข้อมูลทำกลับ การบำรุงรักษาตาราง การบำรุงรักษาดรรชนี บูรณภาพของข้อมูล การจัดการผู้ใช้งาน สิทธิ์การใช้งาน และบทบาท การนำข้อมูลเข้าฐานข้อมูล การสำรองและการกู้ฐานข้อมูล โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับการนำเข้าและส่งออกข้อมูล
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
พื้นฐานการทดสอบซอฟต์แวร์ หลักการทดสอบซอฟต์แวร์ ต้นกำเนิดข้อผิดพลาด แบบจำลองการพัฒนาและการทดสอบ ภาพรวมของกระบวนการทดสอบ การทดสอบกล่องดำเชิงสถิตและเชิงพลวัต การตรวจสอบ การทบทวนและการตรวจตลอด การทดสอบความครอบคลุม การทดสอบอัตโนมัติ เครื่องมือก่อกำเนิดตัวทดสอบ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ออโตมาตาสถานะจำกัด วิธีการสถานะจำกัดในการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ไวยากรณ์และโครงสร้างประโยค ไวยากรณ์ข้อความชี้เฉพาะ ตัวแจงส่วนจากบนลงล่าง ตัวแจงส่วนจากล่างขึ้นบน ไวยากรณ์โครงข่ายเปลี่ยนสถานะ ตัวแจงส่วนแผนภูมิ ลักษณะและไวยากรณ์เสริม การก่อกำเนิดภาษาธรรมชาติ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
นิยามของปัญญาประดิษฐ์ ตัวแทนอัจฉริยะ ปัญหาและปริภูมิของปัญหา การแก้ปัญหาด้วยวิธีการค้นหา กลยุทธ์การค้นหา ความรู้และการแทนความรู้ ตรรกศาสตร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ กระบวนการคิดหาเหตุผล การวางแผน ความไม่แน่นอน การเรียนรู้
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ภาพรวมของปัญญาประดิษฐ์ ระบบอัจฉริยะ ระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบคลุมเครือ เครือข่ายประสาทเทียม การคำนวณแบบวิวัฒน์ ระบบอัจฉริยะแบบผสม ตัวอย่างของระบบอัจฉริยะ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
หลักการและโครงสร้างของเว็บเซอร์วิส มาตรฐานเว็บเซอร์วิสที่ใช้ภาษาเอกซ์เอ็มแอล เช่น เอสโอเอพี ดับเบิลยูเอสดีแอล และยูดีดีไอ คอมโพเนนต์ต่างๆ การพัฒนาและติดตั้งโปรแกรมประยุกต์เว็บเซอร์วิส
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การแนะนำเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับเครื่องเดี่ยว การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับลูกข่ายและแม่ข่าย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
แนวคิดการจัดการโครงการซอฟต์แวร์ ตัวแบบกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์การเลือกและประเมินโครงการ การวางแผนโครงการ การประมาณโครงการ การจัดกำหนดการของโครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการความเสี่ยง กระบวนการติดตามและควบคุม การจัดการคุณภาพซอฟต์แวร์ การวัดและตัววัดโครงการ การจัดการการเปลี่ยนแปลง
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
เทคนิคการจัดการความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา การเข้าใจความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย การรวบรวมและจัดทำเอกสารความต้องการโดยใช้แบบ จำลองยูสเคส ผังลำดับของเอกสารและมาตรฐานของการกำหนดระดับความต้องการ การนิยามระบบ การจัดการขอบเขต การปรับปรุงนิยามของระบบให้ละเอียด คุณลักษณะของความต้องการและการย้อนรอยได้ของความต้องการ การจัดการความต้องการที่เปลี่ยนแปลงบ่อย การใช้ความต้องการเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมการออกแบบ การทดสอบ และการจัดทำเอกสารสำหรับผู้ใช้
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ทฤษฎีการรับรู้และการคิดอ่านรู้จำสื่อประสม สัญญาณสื่อประสมและรูปแบบการจัดเก็บข้อมูล การนำเข้าข้อมูลสื่อประสมและเทคนิคการประมวลผลระบบ ปฏิบัติการสำหรับงานสื่อประสม การจัดเก็บและค้นคืนสื่อประสม แนวคิดการสื่อสารและเครือข่ายสื่อประสม สื่อประสมบนเว็บ ความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลสื่อประสม การจัดการสิทธิ์สื่อดิจิทัล หลักการออกแบบและสื่อสารด้วยภาพ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การสร้างโปรแกรมระบบสื่อประสม การออกแบบและสร้างโปรแกรมส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบกราฟิก การสร้างโปรแกรมแบบขับเคลื่อนด้วยเหตุการณ์สำหรับระบบสื่อประสม การสร้างโปรแกรมระบบสื่อประสมสำหรับอุปกรณ์การสื่อสารเคลื่อนที่และอุปกรณ์ระบบฝังตัว การสร้างโปรแกรมสำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบโต้ตอบได้
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
แนวคิดในการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ วิศวกรรมการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์ได้ เทคนิคการวิเคราะห์ความต้องการ การออกแบบ และการประเมินหลักการออกแบบอีเลิร์นนิง การออกแบบเกม และการออกแบบเว็บ เครื่องมือในการออกแบบและสร้างต้นแบบ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
สถาปัตยกรรมและโครงสร้างพื้นฐานของระบบสื่อประสม ระบบจัดการเนื้อหาสื่อประสม ระบบจัดเก็บและค้นคืนสื่อประสม ระบบการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ระบบรับส่งข้อความแบบทันทีและแบบรวมเป็นจุดเดียว บริการสื่อตามคำขอและแบบสตรีมมิง การจัดการเครื่องแม่ข่ายสื่อประสม บริการสื่อประสมสำหรับอุปกรณ์ในบ้านและอุปกรณ์ระบบฝังตัว โปรแกรมประยุกต์ประเภทกรุ๊ปแวร์ บริการสื่อประสมบนเว็บ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การแนะนำคอมพิวเตอร์กราฟิก การคำนวณเวกเตอร์ในระนาบ 3 มิติ การสร้างวัตถุในระนาบ 3 มิติ การให้แสงและเงาแก่วัตถุ การคำนวณหาเส้นและพื้นผิวที่ถูกบดบัง การให้สีกับวัตถุ การสร้างลวดลายให้กับพื้นผิวของวัตถุ การแนะนำซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กราฟิกที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิก การสร้างภาพเคลื่อนไหวเบื้องต้น
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ประวัติเทคโนโลยีวีดิโอเกมและเกมคอมพิวเตอร์ หลักการออกแบบเกม การแสดงภาพและสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติ การแสดงภาพภูมิประเทศและภาพพื้นหลัง การสร้างโพลีกอน พื้นผิว การตรวจจับการชนของวัตถุการสร้างแบบจำลองเชิงกายภาพ ปัญญาประดิษฐ์สำหรับเกม การสร้างโปรแกรมเกมบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
องค์ประกอบของระบบประมวลผลภาพ การสร้างภาพและรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลภาพ เทคนิคพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลภาพ การรับภาพ การแปลงภาพ การปรับปรุงภาพโดยใช้หลักการของเอ็นฮานสเม้นท์และรีสทอเรชัน การบีบอัดข้อมูลภาพ การวิเคราะห์ภาพ เช่น การตัดแยกวัตถุ การวัดคุณสมบัติของวัตถุในภาพ การวิเคราะห์ฟูเรียร์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
เทคนิคพื้นฐานในการประมวลผลภาพ การตรวจจับและตัดแยกคุณลักษณะเด่นจากภาพ รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลรูปร่างของวัตถุในภาพ สีและความเข้มแสง การรู้จำวัตถุในภาพ วิชัน 3 มิติ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพลวัต การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์วิชัน เช่นระบบตรวจผลผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ระบบวิเคราะห์ภาพทางการแพทย์ ระบบรู้จำบุคคลโดยใช้เอกลักษณ์ของบุคคล ระบบขนส่งอัจฉริยะ ระบบรักษาความปลอดภัย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เบื้องต้นและฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ โครงสร้างของข้อมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เทคนิคการนำเข้าและจัดเก็บข้อมูล การจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล การประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลเสียงดิจิทัล เทคนิคและเครื่องมือในการนำเข้าข้อมูลเสียง การเข้ารหัสและประมวลผลข้อมูลเสียง เสียงแบบสองและสามมิติ การสังเคราะห์เสียง เครื่องมือในการปรับแต่งเสียง การออกแบบทางเสียงเบื้องต้น รูปแบบและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลภาพดิจิทัล การควบคุมความถูกต้องในการแสดงผลข้อมูลสี การประมวลผลภาพและเครื่องมือในการปรับแต่ง เทคโนโลยีการแสดงผลและการพิมพ์ การเข้ารหัสและประมวลผลข้อมูลภาพ วิดิทัศน์ เทคนิคและเครื่องมือในการปรับแต่งภาพวิดิทัศน์ การผลิตเนื้อหาสื่อประสมประเภทสตรีมมิงและประเภทซีดี เครื่องบริการสื่อประสมและเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเนื้อหา มาตรฐานสื่อดิจิทัล การใช้สื่อดิจิทัลในโปรแกรมประยุกต์สื่อประสม
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความเป็นจริงเสมือน เทคโนโลยี และการประยุกต์ใช้งาน ทฤษฏีคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติ การสร้างแบบจำลองเชิงเรขาคณิต และการแปลงเชิงเรขาคณิต ระบบความเป็นจริงเสมือนทั่วไป สภาพแวดล้อมเสมือนและสภาพแวดล้อมคอมพิวเตอร์ โหมดการโต้ตอบ การทำให้เคลื่อนไหวในสภาพแวดล้อมเสมือน การจำลองกายภาพ และปัจจัยของมนุษย์ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบความเป็นจริงเสมือน รวมทั้งเครื่องมือในการพัฒนาการประยุกต์ใช้งานความจริงเสมือน และโครงงานที่มอบหมาย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
แนวคิดระบบสนับสนุนการตัดสินใจ กรอบการสนับสนุนการตัดสินใจ กระบวนการในการตัดสินใจ ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การจำลองแบบและการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ เช่น การวิเคราะห์ความไว การวิเคราะห์อะไรจะเกิดขึ้นถ้า… ต้นไม้การตัดสินใจ และแผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย เทคโนโลยีธุรกิจอัจฉริยะสำหรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ภาพรวมของการจัดการการปฏิบัติการ โปรแกรมเชิงเส้น โปรแกรมเชิงจำนวนเต็ม การเลือกทำเลที่ตั้ง การวางแผนผังสถานที่ประกอบการ การจัดการสินค้าคงคลัง การควบคุมคุณภาพ การจัดการโครงการ การพยากรณ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ทฤษฏีและฝึกปฏิบัติทางการบัญชี วงจรบัญชี การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป บัญชีแยกประเภท การปิดบัญชีและปรับปรุงรายการ การจัดทำงบการเงิน
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
ระเบียบวิธีการวิจัย ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์ความถดถอยและสหสัมพันธ์ การทดสอบไคสแควร์ การจำแนกกลุ่ม เทคนิคการพยากรณ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
การแนะนำการจัดการองค์ความรู้ ความจำเป็นในการจัดการองค์ความรู้ ธรรมชาติและประเภทขององค์ความรู้ กระบวนการและโครงสร้างการจัดการองค์ความรู้ ผลกระทบของการจัดการองค์ความรู้กับองค์กร เทคโนโลยี ความฉลาดเทียมในการจัดการองค์ความรู้ ระบบฐานความรู้ ระบบผู้เชี่ยวชาญกับระบบการให้เหตุผลเชิงกรณี การค้นพบความรู้จากข้อมูล กรณีการศึกษาในการจัดการองค์ความรู้
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
แนวคิดเชิงระบบในการจัดการจัดการห่วงโซ่อุปทาน วิเคราะห์อิทธิพลของห่วงโซ่อุปทานต่อกิจกรรมในส่วนงานต่างๆ เช่น การผลิต การควบคุมสินค้า การวางแผนทางการเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงกลยุทธ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล การสร้างแบบจำลองข้อมูลเชิงมิติ เช่น แบบจำลองข้อมูลแบบสตาร์ และแบบจำลองข้อมูลแบบสโนเฟค การสกัดข้อมูล การแปลงข้อมูลและการนำข้อมูลเข้าระบบคลังข้อมูล เมตดาต้า การบำรุงรักษาคลังข้อมูล โอแลป กระบวนการทำเหมืองข้อมูล การแบ่งกลุ่มข้อมูล การจัดกลุ่มข้อมูล การค้นหากฎความสัมพันธ์ของข้อมูล เครื่องมือต่างๆ ในการทำคลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมกระบวนการ การเลือกกระบวนการเพื่อทำนวัตกรรม บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการทำนวัตกรรมกระบวนการ การสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ การนำกระบวนการใหม่ไปใช้ในองค์กร การจัดการการเปลี่ยนแปลง และกลยุทธ์ในการทำนวัตกรรมกระบวนการ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเครือข่ายและระบบ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
This course focuses on selected topics in Network and System Technology, which selected by a lecturer.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านการพัฒนาสื่อประสมและเกม โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
This course focuses on selected topics in multimedia and game development, which selected by a lecturer.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านอัจฉริยะทางด้านธุรกิจเป็นผู้คัดเลือก
This course will cover recent advances and other topics of interest selected by the instructors in the field of business intelligence
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้คัดเลือก
This course will cover recent advances and other topics of interest selected by the instructors in the field of Information Technology.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(3-0-6)
วิชานี้จะศึกษาถึงหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจ โดยอาจารย์ผู้สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้คัดเลือก
This course will cover recent advances and other topics of interest selected by the instructors in the fieldof Information Technology.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(2-2-5)
ศึกษาและการฝึกภาคปฏิบัติในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
This course focuses on selected topics and practical workshop in Information Technology, which selected by a lecturer.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3(2-2-5)
ศึกษาและการฝึกภาคปฏิบัติในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
This course focuses on selected topics and practical workshop in Information Technology, which selected by a lecturer.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
เนื้อหาวิชาคลอบคลุมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความเป็นจริงเสมือน สภาพแวดล้อมเสมือน รวมทั้งเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้งาน โดยเริ่มจากทฤษฏีคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติที่เกี่ยวข้อง การจำลองเชิงเรขาคณิต การแปลงเชิงเรขาคณิต ระบบความเป็นจริงเสมือนโดยทั่วไป โหมดการปฏิสัมพันธ์แบบต่าง ๆ สภาพแวดล้อมเสมือนที่มีการเคลื่อนไหว การจำลองทางกายภาพ และปัจจัยเกี่ยวกับมนุษย์ เนื้อหาวิชายังรวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในระบบความเป็นจริงเสมือน เครื่องมือในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นความจริงเสมือน การร่วมมือกันในสภาพแวดล้อมเสมือนที่มีผู้ใช้หลายคน และหัวข้อต่าง ๆ เกี่ยวกับความจริงผสม