ความสำคัญและนัยเจตนาในแง่มุมต่างๆของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ทบทวนแบบจำลองวงจรชีวิตซอฟต์แวร์ แบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบต่างๆ และการปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดทีมงาน เครื่องมือทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การจัดการโครงแบบ การวางแผนและประมาณการ หลักการและเทคนิคการทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมความต้องการ กระแสงานวิเคราะห์และออกแบบ ข้อควรระวังในการจัดสร้างซอฟต์แวร์ การบำรุงรักษาหลังส่งมอบ
หลักสูตร
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
เข้าใจสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ระดับองค์กร สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์เชิงส่วนประกอบ สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีแบบมีมิดเดิลแวร์ มิดเดิลแวร์เชิงข้อความ สถาปัตยกรรมเชิงลักษณะ สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีเชิงบริการ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
หลักการและเทคโนโลยีเชิงอ็อบเจกต์ หลักการการวิเคราะห์และออกแบบระบบซอฟต์แวร์ การสร้างแบบจำลองซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในงานพัฒนาระบบด้วยยูเอ็มแอลโดยใช้แผนภาพยูสเคส แผนภาพกิจกรรม แผนภาพคลาส แผนภาพแสดงการโต้ตอบ แผนภาพสถานะ แผนภาพคอมโพเนนท์ และแผนภาพดีพลอยเมนท์ แนวคิดการออกแบบเป็นชั้น
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดและโครงสร้างของเว็บเซอร์วิส มาตรฐานเว็บเซอร์วิสที่ใช้ภาษาเอกซ์เอ็มแอล เช่น เอสโอเอพี ดับเบิลยูเอสดีแอล และยูดีดีไอ การพัฒนาและติดตั้งโปรแกรมประยุกต์เว็บเซอร์วิส หลักการออกแบบสถาปัตยกรรมเชิงบริการ ตัวกลางเชื่อมต่อบริการของระบบต่างๆ ระบบการจัดการกระบวนการทางธุรกิจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการออกแบบซอฟต์แวร์ หลักการออกแบบและการออกแบบระดับรหัส จุดหมายของการออกแบบซอฟต์แวร์ สัญกรณ์ในการออกแบบซอฟต์แวร์ ทบทวนลักษณะเชิงอ็อบเจกต์ ทบทวนยูเอ็มแอล แนะนำแบบรูปการออกแบบเชิงอ็อบเจกต์สามชนิด ลักษณะเฉพาะของแบบรูปการออกแบบ แบบรูปการออกแบบเชิงสร้าง รวมถึงแบบรูปโรงงาน แบบรูปหนึ่งเดียว และแบบรูปต้นแบบ แบบรูปการออกแบบเชิงโครงสร้าง รวมถึงแบบรูปประกอบรวม แบบรูปตัวปรับต่อ และแบบรูปหน้าฉาก แบบรูปการออกแบบเชิงพฤติกรรม รวมถึงแบบรูปตัวแปลคำสั่ง แบบรูปตัววนซ้ำ แบบรูปตัวเฝ้าสังเกตการณ์ แบบรูปสายงานความรับผิดชอบ และแบบรูปตัวแม่แบบ การประยุกต์ใช้งานแบบรูปการออกแบบเชิงอ็อบเจกต์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้พื้นฐานของการทดสอบซอฟต์แวร์ พฤติกรรมและความถูกต้องของโปรแกรม ความถูกต้องกับความเชื่อถือได้ การทดสอบกับการแก้จุดบกพร่อง ตัววัดการทดสอบ เทคนิคการทดสอบแบบต่างๆ รวมถึง การทดสอบแบบกล่องดำและกล่องขาว การทดสอบแบบสถิตและพลวัตร รายละเอียดของเทคนิคกล่องดำ เช่น เทคนิคการทดสอบแบบการแบ่งกลุ่มสมมูล เทคนิคการทดสอบค่าขอบเขต การทดสอบสถานะ และอื่นๆ รายละเอียดเทคนิคกล่องขาว เช่น เทคนิคการทดสอบโปรแกรมแบบครอบคลุมกระแสควบคุม แบบครอบคลุมกระแสข้อมูล การทดสอบโดเมน การทดสอบซอฟต์แวร์โดยอัตโนมัติและเครื่องมือทดสอบซอฟต์แวร์ การทดสอบการถดถอย การทดสอบมิวเทชัน การทดสอบโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ งานวิจัยด้านการทดสอบซอฟต์แวร์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของมาตรวัดซอฟต์แวร์ พื้นฐานของการวัด โครงแบบเชิงเป้าหมายสำหรับการวัดซอฟต์แวร์ การสำรวจเชิงประจักษ์ การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์เชิงสถิติและการทดสอบสมมติฐาน การวัดแอตทริบิวต์ภายในของผลิตภัณฑ์ เช่น ขนาด โครงสร้าง และแรงงาน การวัดแอตทริบิวต์ภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น คุณภาพ และความเชื่อถือได้ เมตริกซ์สำหรับการทดสอบซอฟต์แวร์ เมตริกซ์สำหรับระบบเชิงอ็อบเจกต์ เมตริกซ์สำหรับเว็บ หัวข้อวิจัยด้านซอฟต์แวร์เมตริกซ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ การห่อหุ้ม การสืบทอด และภาวะพหุสัณฐาน การพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้และการจัดการกับเหตุการณ์ โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับและคอลเลคชัน การจัดการกับสิ่งผิดปรกติ คลาสที่เกี่ยวข้องกับอินพุตและเอาต์พุต เธรด
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
การออกแบบเครือข่าย และ การตั้งค่าอุปกรณ์เครือข่าย เช่น เราเตอร์และสวิทช์ การติดตั้งและบริหารการให้บริการเครือข่าย เช่น พรอกซี่ อีเมล ดีเอนเอส การเฝ้าระวังเครือข่าย ประสิทธิภาพของเครือข่าย โพรโทคอลสำหรับการจัดการเครือข่าย เช่น เอสเอ็นเอมพี การจัดการเครือข่ายด้านความปลอดภัย และเครื่องมือสำหรับการบริหารจัดการเครือข่าย
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความมั่นคงของเครือข่ายเบื้องต้น วิทยาการรหัสลับ การประยุกต์การพิสูจน์ตัวจริง เช่น เคอร์เบอร์รอส การบริการการพิสูจน์ตัวจริงแบบสารบบ และโครงสร้างพื้นฐานกุญแจ สาธารณะ ความมั่นคงระดับไอพี ความมั่นคงของการจัดเส้นทาง ความมั่นคงของเว็บ ความมั่นคงของเครือข่ายไร้สาย ซอฟต์แวร์ประสงค์ร้าย เครือข่ายเสมือนส่วนตัว ไฟร์วอลล์ ระบบตรวจจับการบุกรุก และระบบป้องกันการบุกรุก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของระบบ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบ ได้แก่ การวางแผน การออกแบบ การจัดหา การอิมพลีเมนต์ การบริหารจัดการ อธิบายถึงสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของระบบ ระบบจัดเก็บข้อมูล เช่น เครือข่ายจัดเก็บข้อมูล บริการจัดเก็บข้อมูลผ่านเครือข่าย การสำรองข้อมูล การจัดการในวงจรชีวิตของข้อมูล การประมวลผลของระบบแบบต่างๆ เช่น การทำคลัสเตอร์ การทำระบบเสมือน สภาพแวดล้อมของระบบต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อมทางกายภาพของระบบ การพิจารณาฮาร์ดแวร์และระบบปฏิบัติการ การทำให้ระบบทำงานได้อย่างต่อเนื่องและการกู้คืนระบบจากหายนะ การประเมินความเสี่ยง การประเมินค่าระบบ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการสื่อสารเคลื่อนที่และเครือข่ายไร้สาย พื้นฐานการส่งผ่านไร้สาย ความถี่และสัญญาณ สายอากาศ การแพร่ของสัญญาณ เทคนิคการมอดดูเลท เทคนิคการมัลติเพล็กซ์ เทคนิคสเปรดสเปรกตรัม เทคนิคการควบคุมการเข้าถึงสื่อ เช่น เอฟดีเอ็มเอ ทีดีเอ็มเอ และซีดีเอ็มเอ ระบบโทรคมนาคมไร้สาย เช่น ระบบเซลลูลาร์ ระบบสื่อสารดาวเทียม และระบบการกระจายแบบดิจิทัล เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย เช่น IEEE802.11 บลูทูธ และไวแมกซ์ ความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย การสำรวจสถานที่ การวางแผน การปรับใช้ และการจัดการเครือข่ายท้องถิ่นไร้สาย โพรโทคอลเครือข่ายไร้สาย ไอพีเคลื่อนที่ โพรโทคอลทรานสปอร์ทไร้สาย และการสนับสนุนการเคลื่อนที่
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
หลักการของระบบแบบกระจายและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง โดยจะอธิบายภาพรวมของระบบแบบกระจาย การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส การประมวลผลระยะไกล เช่น การเรียกโพรซีเจอร์ระยะไกล การเรียกใช้เมดธอดระยะไกล สถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบกระจาย เช่น โฮสต์-เทอร์มินัล ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์ มิดเดิลแวร์ เอเจนต์แบบเคลื่อนที่ เพียร์-ทู-เพียร์ ชุดคำสั่งที่เคลื่อนย้ายได้ บริการต่างๆ สำหรับระบบแบบกระจาย เช่น บริการไฟล์ บริการด้านชื่อ บริการด้านเวลา ประเด็นการพิจารณาสำหรับระบบแบบกระจาย เช่น การเข้าจังหวะการทำงาน การประสานการทำงาน การควบคุมการใช้งานพร้อมกัน การทำเร็บพลิเคชั่น การทำให้ทนต่อความผิดพลาด การกู้คืนระบบ และความมั่นคงปลอดภัยในระบบแบบกระจาย นอกจากนี้จะอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีแบบกระจาย เช่น การทำคลัสเตอร์ การกระจายภาระงาน ระบบแบบเพียร์-ทู-เพียร์ การประมวลผลแบบกริด เว็บเซอร์วิส
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการประเมินสมรรถนะ วิธีการประเมินสมรรถนะ วิธีการและเครื่องมือประเมินสมรรถนะแบบวัดจริง มาตรวัดสมรรถนะ การกำหนดคุณลักษณะภาระงานของระบบ การสรุปผลข้อมูลสมรรถนะ การเปรียบเทียบระบบจากตัวอย่างข้อมูล การออกแบบและวิเคราะห์การทดลอง การวิเคราะห์และแปลความหมายผลการประเมิน การสร้างตัวแบบโดยวิธีการวิเคราะห์ การสร้างตัวแบบโดยวิธีการจำลอง ทฤษฎีแถวคอย การปฏิบัติการประเมินสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย และเว็บ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
การรับรู้ของมนุษย์ ทฤษฎีการคิดอ่านรู้จำและการให้เหตุผล อุปกรณ์ต่อประสานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ รูปแบบการโต้ตอบ แนวคิดการออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง เทคนิคการประเมินความต้องการและการวิเคราะห์งาน หลักการออกแบบการโต้ตอบกับผู้ใช้และเทคนิคการประเมินผล สถาปัตยกรรมสารสนเทศ หลักปฏิบัติในการออกแบบเว็บและสื่อแบบมีปฏิสัมพันธ์ได้ เครื่องมือในการออกแบบและสร้างต้นแบบส่วนต่อประสาน
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดเบื้องต้นของสภาพแวดล้อมการประมวลผลสื่อประสม รูปแบบการโปรแกรมและการประพันธ์สื่อประสม ภาษากำกับเพิ่มข้อความหลายมิติและสื่อหลายมิติ เครื่องมือในการประพันธ์และโปรแกรมสื่อประสม การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บแบบหลากหลายสื่อ การพัฒนาเกมสองมิติ การโปรแกรมสื่อประสมสำหรับอุปกรณ์แบบพกพาได้ ภาษาเพื่อการอธิบายสื่อประสมและการกำหนดสิทธิ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำระบบการสร้างภาพกราฟิกและภาพเคลื่อนไหวสามมิติ หลักการจำลองรูปทรง เช่น รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน การแปลงเชิงเรขาคณิต และการฉายภาพ เทคนิคการสร้างภาพพื้นฐานและขั้นสูง เทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยอาศัยเฟรมหลักและเทคนิคการประมาณค่า เทคนิคด้านไคเนเมติกส์แบบไปข้างหน้าและย้อนกลับ หลักการสร้างภาพเคลื่อนไหวขั้นสูง เทคนิคการประมวลผลหลังการสร้างภาพกราฟิก พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์และการเขียนโปรแกรมเกม
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำความรู้เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติในการประมวลผลภาพและวีดิทัศน์ การสร้างภาพและการแทนภาพ การประมวลผลภาพลักษณ์ฐานสอง การปรับปรุงภาพ การตรวจจับและตัดแยกคุณลักษณะเด่นออกจากภาพ สีและโทนสี การรู้จำวัตถุ การประมวลผลวีดิทัศน์แบบสามมิติ การประมวลผลวีดิทัศน์แบบพลวัตร และการประยุกต์ใช้งานต่างๆ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
เนื้อหาวิชาคลอบคลุมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความเป็นจริงเสมือน สภาพแวดล้อมเสมือน รวมทั้งเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้งาน โดยเริ่มจากทฤษฏีคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติที่เกี่ยวข้อง การจำลองเชิงเรขาคณิต การแปลงเชิงเรขาคณิต ระบบความเป็นจริงเสมือนโดยทั่วไป โหมดการปฏิสัมพันธ์แบบต่าง ๆ สภาพแวดล้อมเสมือนที่มีการเคลื่อนไหว การจำลองทางกายภาพ และปัจจัยเกี่ยวกับมนุษย์ เนื้อหาวิชายังรวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในระบบความเป็นจริงเสมือน เครื่องมือในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นความจริงเสมือน การร่วมมือกันในสภาพแวดล้อมเสมือนที่มีผู้ใช้หลายคน และหัวข้อต่าง ๆ เกี่ยวกับความจริงผสม
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความน่าจะเป็น การกระจาย การสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความถดถอย ความถดถอยไม่เชิงเส้น ความถดถอยโลจิสติค การวิเคราะห์อนุกรมเวลาและการพยากรณ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
กระบวนการทำเหมืองข้อมูลที่สำคัญ เช่น คริสป์-ดีเอ็ม และ เซมมา การแบ่งกลุ่มฐานข้อมูล โดยใช้อัลกอริทึมเคมีนส์ และโครงข่ายประสาทเทียมโคโฮเนน การจำแนกโดยใช้รูปต้นไม้การตัดสินใจและโครงข่ายประสาทเทียมแบคพรอพโพเกชัน การค้นหากฎความสัมพันธ์ของข้อมูลโดยการใช้อัลกอริทึมอะพริออริ ซอฟต์แวร์การทำเหมืองข้อมูลเชิงพาณิชย์ การประยุกต์ใช้งานการทำเหมืองข้อมูล
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้พื้นฐานของการจัดการองค์ความรู้ การจัดการองค์ความรู้ในบริบทของการสนับสนุนการตัดสินใจอย่างชาญฉลาด ความสัมพันธ์ของการจัดการองค์ความรู้กับสาขาวิชาอื่นๆ วงจรชีวิตของการจัดการองค์ความรู้ ระบบฐานความรู้ เทคนิคการจัดการองค์ความรู้แบบต่างๆ การค้นพบความรู้จากฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบการให้เหตุผลเชิงกรณี กลไกการเรียนรู้ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หัวข้อวิจัยด้านการจัดการองค์ความรู้
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้พื้นฐานของการเรียนรู้ของเครื่อง การเรียนรู้แบบมีผู้สอน การถดถอย อัลกอริทึมเพื่อนบ้านที่ใกล้ที่สุด ซัพพอร์ทเวกเตอร์แมชชีน โครงข่ายความเชื่อแบบเบย์ ต้นไม้การตัดสินใจ แบบจำลองแบบผสม การลดมิติข้อมูล พีซีเอ การวิเคราะห์ปัจจัย วิธีการในการผสมผสาน การแบ่งกลุ่มข้อมูล อัลกอริทึมอีเอ็ม การเรียนรู้แบบเสริมกำลัง การประยุกต์ใช้ในปัจจุบันของการเรียนรู้ของเครื่อง
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความหมายของปัญญาประดิษฐ์คืออะไร ปัญหา ตัวแทน การรับรู้และการกระทำ การค้นหา เทคนิคการค้นหาแบบฮิวรีสติค ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม การแทนความรู้ การแทนความรู้แบบตรรก การแทนความรู้แบบกฎ การหาเหตุผลโดยใช้สัญญลักษณ์ภายใต้ความไม่แน่นอน การหาเหตุผลแบบสถิติ โครงสร้างแบบอ่อนของสล็อทและฟิลเลอร์ โครงสร้างแบบแข็งของสล็อทและฟิลเลอร์ การเล่นเกม การวางแผนความเข้าใจ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบแยกส่วน การเรียนรู้ โมเดลการเชื่อมต่อ สามัญสำนึก ระบบผู้เชี่ยวชาญ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ความคลุมเครือของภาษา แบบจำลองและอัลกอริทึมที่ใช้ในการประมวลผลภาษาธรรมชาติ เครื่องสถานะจำกัด การประมวลผลหน่วยคำและคลังคำศัพท์ การบ่งหน้าที่หน่วยคำกับแบบจำลองฮิดเดนมาคอฟ ลำดับชั้นภาษาของฌอมสกี้ ไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบท การแจงส่วนจากบนลงล่างและจากล่างขึ้นบน แคลคูลัสภาคแสดงลำดับที่หนึ่ง การแทนความหมาย การวิเคราะห์ความหมาย และความหมายหน่วยคำ การลดความกำกวมของคำ งานประยุกต์ใหม่ของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ การสกัดข่าวสารจากอินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาษาธรรมชาติด้วยวิธีต่างๆ แนะนำการแปลภาษา งานวิจัยด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
หลักการพื้นฐานของโครงข่ายประสาทเทียม สถาปัตยกรรมและอัลกอริทึมของโครงข่ายประสาทเทียมแบบต่างๆ ทฤษฎีฟัซซี่เซ็ตและระบบฟัซซี่ อัลกอริทึมแบบวิวัฒนาการ ความฉลาดแบบกลุ่ม แอนท์โคโลนีออพติไมเซชั่น ระบบแบบผสมผสาน หัวข้อเรื่องปัจจุบันในการทำวิจัยทางด้านปัญญาประดิษฐ์เชิงคำนวณ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดของคลังข้อมูล ตลาดข้อมูล สถาปัตยกรรมสภาพแวดล้อมของคลังข้อมูล เทคนิคการจำลองแบบและออกแบบคลังข้อมูลกลาง การสร้างแบบจำลองข้อมูลหลายมิติ เค้าร่างแบบดาว เค้าร่างแบบเกล็ดหิมะ เค้าร่างแบบหมู่ดาว การนำข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูลเพื่อพร้อมใช้งาน กระบวนการการสกัด แปลง และบรรจุข้อมูล (อีทีแอล) เครื่องมือประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์ (โอแล็ป) การประยุกต์ใช้คลังข้อมูลและความชาญฉลาดทางธุรกิจ บทบาทของคลังข้อมูลในการสนับสนุนระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมการกำกับดูแลด้านไอที ข้อพิจารณาในการดำเนินการทางธุรกิจและทรัพยากรสารสนเทศ การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ด้านไอทีและด้านธุรกิจ ความคุ้มค่าของคุณค่าที่ได้รับ การบริหารทรัพยากร การบริหารความเสี่ยง การวัดประสิทธิภาพ กรอบวิธีการกำกับดูแลไอที การปรับปรุงกระบวนการด้านไอที ฟังก์ชันหลักของการจัดการบริการด้านไอที มาตรฐานและหลักปฏิบัติที่ดีในการจัดการบริการด้านไอที
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและกลยุทธ์ขององค์การ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ วัฏฏะการวางแผน องค์ประกอบของแผนเชิงกลยุทธ์ แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการให้บริการระบบสารสนเทศ การพัฒนาขีดความสามารถ การวางแผนและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การนำแผนกลยุทธ์ไปใช้ในเชิงปฏิบัติ การจัดการความเปลี่ยนแปลง การควบคุมและประเมินผลการดำเนินการตามกลยุทธ์
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ธรรมชาติของโครงการซอฟต์แวร์ รูปแบบกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดองค์การของโครงการ การประเมินโครงการ การวางแผน การจัดตารางการทำงาน การประมาณการขนาดและต้นทุน การบริหารทรัพยากร การตรวจสอบและควบคุม การบริหารความเสี่ยง การจัดการคอนฟิกกูเลชันของซอฟต์แวร์ การจัดการคุณภาพซอฟต์แวร์ ปัญหาที่เกิดขึ้นในโครงการทางซอฟต์แวร์ เครื่องมือในการบริหารโครงการ และ วิเคราะห์กรณีศึกษาโครงการซอฟต์แวร์ต่างๆ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดระบบสนับสนุนการตัดสินใจ กระบวนการในการตัดสินใจ องค์ประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การจำลองและการวิเคราะห์ ความจำเป็นของความอัจฉริยะทางธุรกิจ องค์ประกอบและเทคโนโลยีความอัจฉริยะทางธุรกิจ การจัดการความรู้ ระบบอัจฉริยะ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม การจัดสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้เบื้องต้นด้านความมั่นคงของสารสนเทศ รวมถึงแนวคิดพื้นฐานและเทคโนโลยีความมั่นคงสารสนเทศ โครงร่างการจัดการความมั่นคงสารสนเทศ การจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคง นโยบายและมาตรฐานความมั่นคงสารสนเทศ ความตระหนักด้านความมั่นคง การกู้ภัยพิบัติ การตอบสนองต่อเหตุการณ์ การตรวจสอบและควบคุมความมั่นคง ประเด็นกฎหมายด้านความมั่นคงของสารสนเทศ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลบนเว็บ การทำธุรกิจแบบบีทูบี เว็บชุมชนและเว็บท่า สถาปัตยกรรมระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเครือข่าย เครื่องมือสำหรับสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การประพันธ์เว็บ หลักการออกแบบเว็บและปัจจัยชี้วัด ระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาความปลอดภัย กฏหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การโฆษณาบนเว็บ
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
เทคโนโลยีโทรคมนาคม ธุรกิจการให้บริการเนื้อหาและโครงสร้างพื้นฐานด้านไอซีที เทคโนโลยีที่สำคัญสำหรับการควบรวมดิจิตอลและโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในยุคถัดไป การปรับเปลี่ยนโครงสร้างในธุรกิจโทรคมนาคมและไอซีที นโยบายด้านโทรคมนาคมและไอซีที ระเบียบข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเครือข่ายและระบบ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเครือข่ายและระบบ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านระบบสื่อประสมและระบบอัจฉริยะ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านระบบสื่อประสมและระบบอัจฉริยะ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
เข้าใจสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ระดับองค์กร สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์เชิงส่วนประกอบ สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีแบบมีมิดเดิลแวร์ มิดเดิลแวร์เชิงข้อความ สถาปัตยกรรมเชิงลักษณะ สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีเชิงบริการ
Understanding enterprise software architectures, Component Based Software Architecture, middleware architectures and technologies, Message Oriented Middleware, aspect-oriented architectures, service-oriented architectures and technologies.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
หลักการและเทคโนโลยีเชิงอ็อบเจกต์ หลักการการวิเคราะห์และออกแบบระบบซอฟต์แวร์ การสร้างแบบจำลองซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในงานพัฒนาระบบด้วยยูเอ็มแอลโดยใช้แผนภาพยูสเคส แผนภาพกิจกรรม แผนภาพคลาส แผนภาพแสดงการโต้ตอบ แผนภาพสถานะ แผนภาพคอมโพเนนท์ และแผนภาพดีพลอยเมนท์ แนวคิดการออกแบบเป็นชั้น
Object-oriented technology concept, principles of software system analysis and design, software modeling for system development using UML such as use case diagram, activity diagram, class diagram, interaction diagram, statechart diagram, component diagram, and deployment diagram, layered design concept.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดและโครงสร้างของเว็บเซอร์วิส มาตรฐานเว็บเซอร์วิสที่ใช้ภาษาเอกซ์เอ็มแอล เช่น โซพ ดับเบิลยูเอสดีแอล และยูดีดีไอ การพัฒนาและติดตั้งโปรแกรมประยุกต์เว็บเซอร์วิส หลักการออกแบบสถาปัตยกรรมเชิงบริการ ลักษณะและประโยชน์ของตัวกลางเชื่อมต่อบริการของระบบต่างๆ การจัดการกระบวนการทางธุรกิจ ประเภทของบริการ
Concepts and structures of web services, XML-based web services standards, e.g. SOAP, WSDL, and UDDI, development and deployment of web service applications, concepts of Service-Oriented Architecture (SOA), features and benefits of Enterprise Service Bus (ESB), Business Process Management (BPM), type of services.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการออกแบบซอฟต์แวร์ หลักการออกแบบและการออกแบบระดับรหัส จุดหมายของการออกแบบซอฟต์แวร์ สัญกรณ์ในการออกแบบซอฟต์แวร์ ทบทวนลักษณะเชิงอ็อบเจกต์ ทบทวนยูเอ็มแอล แนะนำแบบรูปการออกแบบเชิงอ็อบเจกต์สามชนิด ลักษณะเฉพาะของแบบรูปการออกแบบ แบบรูปการออกแบบเชิงสร้าง รวมถึงแบบรูปโรงงาน แบบรูปหนึ่งเดียว และแบบรูปต้นแบบ แบบรูปการออกแบบเชิงโครงสร้าง รวมถึงแบบรูปประกอบรวม แบบรูปตัวปรับต่อ และแบบรูปหน้าฉาก แบบรูปการออกแบบเชิงพฤติกรรม รวมถึงแบบรูปตัวแปลคำสั่ง แบบรูปตัววนซ้ำ แบบรูปตัวเฝ้าสังเกตการณ์ แบบรูปสายงานความรับผิดชอบ และแบบรูปตัวแม่แบบ การประยุกต์ใช้งานแบบรูปการออกแบบเชิงอ็อบเจกต์ Overview of software design, design principles and code-level design, goal of software design, software design notation, review of object-orientation features, review of Unified Modeling Language (UML), introduction to three types of object-oriented design patterns, characteristics of design patterns, creational design patterns including factory, singleton and prototype patterns, structural design patterns including composite, adapter and facade, behavioral design pattern including interpreter, iterator, observer, chain of responsibility and template, application of object-oriented design patterns.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้พื้นฐานของการทดสอบซอฟต์แวร์ พฤติกรรมและความถูกต้องของโปรแกรม ความถูกต้องกับความเชื่อถือได้ การทดสอบกับการแก้จุดบกพร่อง ตัววัดการทดสอบ เทคนิคการทดสอบแบบต่างๆ รวมถึง การทดสอบแบบกล่องดำและกล่องขาว การทดสอบแบบสถิตและพลวัตร รายละเอียดของเทคนิคกล่องดำ เช่น เทคนิคการทดสอบแบบการแบ่งกลุ่มสมมูล เทคนิคการทดสอบค่าขอบเขต การทดสอบสถานะ และอื่นๆ รายละเอียดเทคนิคกล่องขาว เช่น เทคนิคการทดสอบโปรแกรมแบบครอบคลุมกระแสควบคุม แบบครอบคลุมกระแสข้อมูล การทดสอบโดเมน การทดสอบซอฟต์แวร์โดยอัตโนมัติและเครื่องมือทดสอบซอฟต์แวร์ การทดสอบการถดถอย การทดสอบมิวเทชัน การทดสอบโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ งานวิจัยด้านการทดสอบซอฟต์แวร์
Fundamental knowledge of software testing, program behavior and correctness, correctness versus reliability, testing and debugging, testing metrics, testing techniques include black-box and white-box, static and dynamic testing, details of black-box techniques such as equivalence partitioning, boundary value testing, and state testing, details of white-box techniques such as control-flow coverage, data flow coverage, and domain testing, automated software testing and testing tools, regression testing, mutation testing, object-oriented program testing, research in software testing.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของมาตรวัดซอฟต์แวร์ พื้นฐานของการวัด โครงแบบเชิงเป้าหมายสำหรับการวัดซอฟต์แวร์ การสำรวจเชิงประจักษ์ การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์เชิงสถิติและการทดสอบสมมติฐาน การวัดแอตทริบิวต์ภายในของผลิตภัณฑ์ เช่น ขนาด โครงสร้าง และแรงงาน การวัดแอตทริบิวต์ภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น คุณภาพ และความเชื่อถือได้ เมตริกซ์สำหรับการทดสอบซอฟต์แวร์ เมตริกซ์สำหรับระบบเชิงอ็อบเจกต์ เมตริกซ์สำหรับเว็บ หัวข้อวิจัยด้านซอฟต์แวร์เมตริกซ์
Overview of software metrics, basics of measurement, goal-based framework for software measurement, empirical investigation, data collection and data analysis, statistical analysis and hypothesis testing, measuring internal product attributes such as size, structure and effort, measuring external product attributes such as quality and reliability, software test metrics, object-oriented metrics, web metrics, research issues in software metrics.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ การห่อหุ้ม การสืบทอด และภาวะพหุสัณฐาน การพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้และการจัดการกับเหตุการณ์ โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับและคอลเลคชัน การจัดการกับสิ่งผิดปรกติ คลาสที่เกี่ยวข้องกับอินพุตและเอาต์พุต เธรด Object-oriented program design and development, encapsulation, inheritance and polymorphism, graphical user interface development and event handling, data structures: arrays and collections, exception handling, input/output classes, threads.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของระบบ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบ ได้แก่ การวางแผน การออกแบบ การจัดหา การอิมพลีเมนต์ การบริหารจัดการ อธิบายถึงสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของระบบ ระบบจัดเก็บข้อมูล เช่น เครือข่ายจัดเก็บข้อมูล บริการจัดเก็บข้อมูลผ่านเครือข่าย การสำรองข้อมูล การจัดการในวงจรชีวิตของข้อมูล การประมวลผลของระบบแบบต่างๆ เช่น การทำคลัสเตอร์ การทำระบบเสมือน สภาพแวดล้อมของระบบต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อมทางกายภาพของระบบ การพิจารณาฮาร์ดแวร์และระบบปฏิบัติการ การทำให้ระบบทำงานได้อย่างต่อเนื่องและการกู้คืนระบบจากหายนะ การประเมินความเสี่ยง การประเมินค่าระบบ
System overview, process of planning, designing, procurement, implementing, administration and management, system architecture and components, storage system such as Storage Area Network (SAN), Network Attached Storage (NAS), Storage Backup, Information Life Cycle Management (ILM), system processing such as clustering, virtualization, system environment such as physical environment, hardware and operating system considerations, system continuity and disaster recovery, risk analysis, system assessment.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการสื่อสารแบบเคลื่อนที่และเครือข่ายไร้สาย พื้นฐานการส่งผ่านแบบไร้สาย ความถี่และสัญญาณ สายอากาศ การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ เทคนิคการมอดดูเลท เทคนิคการมัลติเพล็กซ์ เทคนิคการสเปรดสเปรกตรัม เทคนิคการควบคุมการเข้าถึงแบบพร้อมกันหลายทาง เช่น เอฟดีเอ็มเอ ทีดีเอ็มเอ และซีดีเอ็มเอ เป็นต้น ระบบโทรคมนาคมไร้สาย เช่น ระบบเซลลูลาร์ ระบบสื่อสารดาวเทียม และระบบการแพร่กระจายแบบดิจิทัล เป็นต้น เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย เช่น ซิกบี บลูทูธ ไวไฟ ไวมีเดีย และไวแมกซ์ เป็นต้น ความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย ไอพีเคลื่อนที่ โพรโทคอลทรานสปอร์ทไร้สาย และการสนับสนุนบริการแบบเคลื่อนที่
Overview of mobile communications and wireless networks, wireless transmission basis, frequencies and signals, antennas, radio propagation, modulation techniques, multiplexing techniques, spread spectrum techniques, multiple access control techniques such as FDMA, TDMA, and CDMA, wireless telecommunication systems such as cellular systems, satellite communication systems, and digital broadcasting systems, wireless network technologies such as ZigBee, Bluetooth, Wi-Fi, WiMedia, and WiMAX, wireless network security, mobile IP, wireless transport protocols, and mobility support.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
หลักการของระบบแบบกระจายและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง โดยจะอธิบายภาพรวมของระบบแบบกระจาย การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส การประมวลผลระยะไกล เช่น การเรียกโพรซีเจอร์ระยะไกล การเรียกใช้เมดธอดระยะไกล สถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบกระจาย เช่น โฮสต์-เทอร์มินัล ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์ มิดเดิลแวร์ เอเจนต์แบบเคลื่อนที่ เพียร์-ทู-เพียร์ ชุดคำสั่งที่เคลื่อนย้ายได้ บริการต่างๆ สำหรับระบบแบบกระจาย เช่น บริการไฟล์ บริการด้านชื่อ บริการด้านเวลา ประเด็นการพิจารณาสำหรับระบบแบบกระจาย เช่น การเข้าจังหวะการทำงาน การประสานการทำงาน การควบคุมการใช้งานพร้อมกัน การทำเร็บพลิเคชั่น การทำให้ทนต่อความผิดพลาด การกู้คืนระบบ และความมั่นคงปลอดภัยในระบบแบบกระจาย นอกจากนี้จะอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีแบบกระจาย เช่น การทำคลัสเตอร์ การกระจายภาระงาน ระบบแบบเพียร์-ทู-เพียร์ การประมวลผลแบบกริด เว็บเซอร์วิส
Concepts of distributed systems and technologies including distributed systems overview, inter-process communication, remote executing such as remote procedure calling and remote method invocation, distributed computing architectures such as host-terminal, client-server, middle-ware, mobile agent, peer-to-peer, mobile code, services for distributed systems such as file service, name/directory service, time service, consideration issues for distributed systems such as synchronization, co-ordination, concurrency control, replication, fault tolerance, recovery and security in distributed systems, discussions about distributed technologies such as clustering, load balancing, peer-to-peer systems, grid computing, web services.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการประเมินสมรรถนะ วิธีการประเมินสมรรถนะ วิธีการและเครื่องมือประเมินสมรรถนะแบบวัดจริง มาตรวัดสมรรถนะ การกำหนดคุณลักษณะภาระงานของระบบ การสรุปผลข้อมูลสมรรถนะ การเปรียบเทียบระบบจากตัวอย่างข้อมูล การออกแบบและวิเคราะห์การทดลอง การวิเคราะห์และแปลความหมายผลการประเมิน การสร้างตัวแบบโดยวิธีการวิเคราะห์ การสร้างตัวแบบโดยวิธีการจำลอง ทฤษฎีแถวคอย การปฏิบัติการประเมินสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
Overview of performance evaluation, performance evaluation techniques, measurement techniques and tools, performance metrics, system workload characterization, summarizing performance data, comparing systems using sample data, experimental design and analysis, evaluation result analysis and interpretation, analytical modeling, simulation modeling, queuing theory, performance evaluation practices on computer and network systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ทฤษฎีการรับรู้ของมนุษย์และการคิดอ่านรู้จำ อุปกรณ์ต่อประสานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ รูปแบบการโต้ตอบ แนวคิดการออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง การวิเคราะห์ผู้ใช้และงาน หลักการออกแบบการโต้ตอบกับผู้ใช้และเทคนิคการประเมินผล สถาปัตยกรรมสารสนเทศ หลักปฏิบัติในการออกแบบเว็บ หลักปฏิบัติในการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สำหรับโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะและแบบพกพาได้ เครื่องมือในการออกแบบและสร้างต้นแบบส่วนต่อประสาน
Human perception and cognitive theories, human-computer interface devices, interaction styles, user-centered design concept, user and task analysis, interaction design principles and evaluation techniques, information architecture, web design guidelines, user interface design guidelines for desktop and mobile applications, user interface design and prototyping tools
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดเบื้องต้นของสภาพแวดล้อมการประมวลผลสื่อประสม แพลทฟอร์มในการโปรแกรมและการประพันธ์สื่อประสม กระบวนการการออกแบบและพัฒนาสื่อประสม ภาษากำกับเพิ่มข้อความหลายมิติและสื่อหลายมิติ มาตรฐานการเชื่อมต่อกับโปรแกรมประยุกต์สำหรับสื่อประสม เครื่องมือในการประพันธ์และโปรแกรมสื่อประสม หลักการและแนวปฏิบัติในการออกแบบสื่อประสม ภาษาเพื่อการอธิบายสื่อประสมและการกำหนดสิทธิ์
Basic concepts in multimedia computing environment, multimedia programming and authoring platforms, multimedia design and development process, hypertext and hypermedia markup languages, multimedia application programming interface standards, multimedia authoring and programming tools, multimedia design principles and guidelines, multimedia meta data and right description languages.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำระบบการสร้างภาพกราฟิกส์และภาพแอนิเมชันสามมิติ หลักการจำลองรูปทรง เช่น รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน การแปลงเชิงเรขาคณิต และการฉายภาพ เทคนิคการสร้างภาพพื้นฐานและขั้นสูง เทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยอาศัยเฟรมหลักและเทคนิคการประมาณค่า เทคนิคด้านไคเนเมติกส์แบบไปข้างหน้าและย้อนกลับ หลักการสร้างภาพเคลื่อนไหวขั้นสูง เทคนิคการประมวลผลหลังการสร้างภาพกราฟิก พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์และการเขียนโปรแกรมเกม
Introduction to computer graphics and animation systems, modeling concepts such as geometric primitives, geometric transformations and projections, basic and advanced rendering techniques, basic animation techniques such as key-frame animation and interpolation methods, forward and inverse kinematics techniques, advanced animation concepts, post-processing techniques, fundamentals of interactive computer graphic and game programming.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำความรู้เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติในการประมวลผลภาพและวีดิทัศน์ การสร้างภาพและการแทนภาพ การประมวลผลภาพลักษณ์ฐานสอง การปรับปรุงภาพ การตรวจจับและตัดแยกคุณลักษณะเด่นออกจากภาพ สีและโทนสี การรู้จำวัตถุ การประมวลผลวีดิทัศน์แบบสามมิติ การประมวลผลวีดิทัศน์แบบพลวัตร และการประยุกต์ใช้งานต่างๆ
Introduction to the theory and practice of image and video computing, image formation and representation, binary image processing, image enhancement, feature detection and segmentation, color and shading, object recognition, 3D vision, dynamic vision, and applications.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำพื้นฐานความเป็นจริงเสมือนและการประยุกต์ใช้งาน ทฤษฏีคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติ การจำลองเชิงเรขาคณิต การแปลงเชิงเรขาคณิต ระบบความเป็นจริงเสมือนทั่วไป โหมดการปฏิสัมพันธ์แบบต่าง ๆ สภาพแวดล้อมที่เป็นภาพเคลื่อนไหวเสมือนจริง การจำลองทางกายภาพ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ความเป็นจริงเสมือน เครื่องมือในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นความเป็นจริงเสมือน สภาพแวดล้อมเสมือนที่มีผู้ใช้หลายคนและการทำงานร่วมกัน และหัวข้อต่าง ๆ เกี่ยวกับความเป็นจริงผสม
Introduction of virtual reality (VR) basis and applications, 3D computer graphic theory, geometric modeling, geometrical transformations, generic VR systems, interaction modes, animating virtual environment, physical simulation, human factors, VR hardware and software, VR application development tools, multi-user virtual environments and collaboration, and mixed reality topics.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความน่าจะเป็น การกระจาย การสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความถดถอย ความถดถอยไม่เชิงเส้น ความถดถอยโลจิสติค การวิเคราะห์อนุกรมเวลาและการพยากรณ์
Probability, distributions, sampling, hypothesis testing, regression analysis, nonlinear regression, logistic regression, time series analysis and forecasting.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
กระบวนการทำเหมืองข้อมูลที่สำคัญ เช่น คริสป์-ดีเอ็ม และ เซมมา การแบ่งกลุ่มฐานข้อมูล โดยใช้อัลกอริทึมเคมีนส์ และโครงข่ายประสาทเทียมโคโฮเนน การจำแนกโดยใช้รูปต้นไม้การตัดสินใจและโครงข่ายประสาทเทียมแบคพรอพโพเกชัน การค้นหากฎความสัมพันธ์ของข้อมูลโดยการใช้อัลกอริทึมอะพริออริ ซอฟต์แวร์การทำเหมืองข้อมูลเชิงพาณิชย์ การประยุกต์ใช้งานการทำเหมืองข้อมูล
Data mining processes such as CRISP-DM and SEMMA, Database segmentation using K-means algorithm and Kohonen neural networks, classification using decision trees and backpropogation neural networks, association rule discovery using Apriori algorithm, commercial data mining software, applications of data mining.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้พื้นฐานของการจัดการองค์ความรู้ การจัดการองค์ความรู้ในบริบทของการสนับสนุนการตัดสินใจอย่างชาญฉลาด ความสัมพันธ์ของการจัดการองค์ความรู้กับสาขาวิชาอื่นๆ วงจรชีวิตของการจัดการองค์ความรู้ ระบบฐานความรู้ เทคนิคการจัดการองค์ความรู้แบบต่างๆ การค้นพบความรู้จากฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบการให้เหตุผลเชิงกรณี กลไกการเรียนรู้ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หัวข้อวิจัยด้านการจัดการองค์ความรู้
Fundamental knowledge of knowledge management, knowledge management in intelligent decision support context, relationship of knowledge management and other disciplines. knowledge management life cycle, knowledge-based systems, knowledge management techniques, knowledge discovery from database, expert systems, case-based reasoning systems, machine learning mechanisms, research issues in knowledge management.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความรู้พื้นฐานของการเรียนรู้ของเครื่อง การเรียนรู้แบบมีผู้สอน การถดถอย อัลกอริทึมเพื่อนบ้านที่ใกล้ที่สุด ซัพพอร์ทเวกเตอร์แมชชีน โครงข่ายความเชื่อแบบเบย์ ต้นไม้การตัดสินใจ แบบจำลองแบบผสม การลดมิติข้อมูล พีซีเอ การวิเคราะห์ปัจจัย วิธีการในการผสมผสาน การแบ่งกลุ่มข้อมูล อัลกอริทึมอีเอ็ม การเรียนรู้แบบเสริมกำลัง การประยุกต์ใช้ในปัจจุบันของการเรียนรู้ของเครื่อง
Fundamental knowledge of machine learning, supervised learning, regression, nearest neighbor algorithms, support vector machines, Bayesian belief networks, decision trees, mixture models, dimensionality reduction, PCA, factor analysis, ensemble methods, clustering, EM algorithm, reinforcement learning, and recent applications of machine learning.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ความหมายของปัญญาประดิษฐ์คืออะไร ปัญหา ตัวแทน การรับรู้และการกระทำ การค้นหา เทคนิคการค้นหาแบบฮิวรีสติค ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม การแทนความรู้ การแทนความรู้แบบตรรก การแทนความรู้แบบกฎ การหาเหตุผลโดยใช้สัญญลักษณ์ภายใต้ความไม่แน่นอน การหาเหตุผลแบบสถิติ โครงสร้างแบบอ่อนของสล็อทและฟิลเลอร์ โครงสร้างแบบแข็งของสล็อทและฟิลเลอร์ การเล่นเกม การวางแผนความเข้าใจ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ปัญญาประดิษฐ์แบบขนานและแบบแยกส่วน การเรียนรู้ โมเดลการเชื่อมต่อ สามัญสำนึก ระบบผู้เชี่ยวชาญ
Definition of artificial intelligence, problems, agents, uninformed and informed search, genetic algorithm, knowledge representation using logic and rules, symbolic reasoning under uncertainty, statistical reasoning, weak slot-and-filler structures, strong slot-and-filler structures, game playing, planning understanding, natural language processing, parallel and distributed AI, connectionist models, common sense, expert systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ภาพรวมของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ความคลุมเครือของภาษา แบบจำลองและอัลกอริทึมที่ใช้ในการประมวลผลภาษาธรรมชาติ เครื่องสถานะจำกัด การประมวลผลหน่วยคำและคลังคำศัพท์ การบ่งหน้าที่หน่วยคำกับแบบจำลองฮิดเดนมาคอฟ ลำดับชั้นภาษาของฌอมสกี้ ไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบท การแจงส่วนจากบนลงล่างและจากล่างขึ้นบน แคลคูลัสภาคแสดงลำดับที่หนึ่ง การแทนความหมาย การวิเคราะห์ความหมาย และความหมายหน่วยคำ การลดความกำกวมของคำ งานประยุกต์ใหม่ของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ การสกัดข่าวสารจากอินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาษาธรรมชาติด้วยวิธีต่างๆ แนะนำการแปลภาษา งานวิจัยด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Overview of natural language processing (NLP), language ambiguity, models and algorithms for NLP, finite state machines, lexicon and morphology processing, part-of-speech tagging and Hidden Markov models, Chomsky’s hierarchy, context-free grammar, top-down and bottom-up parsing, first-order predicate calculus, representing meaning, semantic analysis and lexical semantics, word sense disambiguation, modern applications of NLP, information extraction from the Internet, natural language generation methods, introduction to machine translation, research issues in NLP.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
หลักการพื้นฐานของโครงข่ายประสาทเทียม สถาปัตยกรรมและอัลกอริทึมของโครงข่ายประสาทเทียมแบบต่างๆ ทฤษฎีฟัซซี่เซ็ตและระบบฟัซซี่ อัลกอริทึมแบบวิวัฒนาการ ความฉลาดแบบกลุ่ม แอนท์โคโลนีออพติไมเซชั่น ระบบแบบผสมผสาน หัวข้อเรื่องปัจจุบันในการทำวิจัยทางด้านปัญญาประดิษฐ์เชิงคำนวณ
Basic concepts of neural networks, neural network architectures and algorithms, fuzzy set theory and fuzzy systems, evolutionary algorithm, swarm intelligence, Ant Colony Optimization, hybrid systems, current research topics and applications of computational intelligence.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดของคลังข้อมูล ตลาดข้อมูล สถาปัตยกรรมสภาพแวดล้อมของคลังข้อมูล เทคนิคการจำลองแบบและออกแบบคลังข้อมูลกลาง การสร้างแบบจำลองข้อมูลหลายมิติ เค้าร่างแบบดาว เค้าร่างแบบเกล็ดหิมะ เค้าร่างแบบหมู่ดาว การนำข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูลเพื่อพร้อมใช้งาน กระบวนการการสกัด แปลง และบรรจุข้อมูล (อีทีแอล) เครื่องมือประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์ (โอแล็ป) การประยุกต์ใช้คลังข้อมูลและความชาญฉลาดทางธุรกิจ บทบาทของคลังข้อมูลในการสนับสนุนระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
Data warehouse concepts, data marts, data warehouse environment architectures, modeling and design techniques for a central data warehouse, multidimensional data modeling, star schema, snowflake schema, fact constellation, populating the data warehouse environment, extract, transformation and load (ETL), on-line analytical processing (OLAP), data warehouse and business intelligence application, role of data warehouses in supporting decision support systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและกลยุทธ์ขององค์การ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ วัฏฏะการวางแผน องค์ประกอบของแผนเชิงกลยุทธ์ แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการให้บริการระบบสารสนเทศ การพัฒนาขีดความสามารถ การวางแผนและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การนำแผนกลยุทธ์ไปใช้ในเชิงปฏิบัติ การจัดการความเปลี่ยนแปลง การควบคุมและประเมินผลการดำเนินการตามกลยุทธ์
Strategic management, information technology and organization strategies, strategic planning, life cycle of planning, strategic planning components, information technology trends, managing information technology infrastructure and the supply of information systems services, capability development, human resource planning and development, strategic implementation, change management, strategic control and evaluation.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ กระบวนการในการตัดสินใจ องค์ประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การจำลองและการวิเคราะห์ สาระสำคัญของความอัจฉริยะทางธุรกิจ องค์ประกอบและเทคโนโลยีความอัจฉริยะทางธุรกิจ การจัดการความรู้ ระบบอัจฉริยะ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม การจัดสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
Concepts of decision support systems (DSS), decision making process, decision support systems components, modeling and analysis, essentials of business intelligence (BI), BI components and technologies, knowledge management, intelligent systems, group decision support systems, implementing DSS.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดพื้นฐานและเทคโนโลยีความมั่นคงสารสนเทศ โครงร่างการจัดการความมั่นคงสารสนเทศ การจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคงสารสนเทศ นโยบายและมาตรฐานความมั่นคงสารสนเทศ ความตระหนักด้านความมั่นคงสารสนเทศ การกู้ภัยพิบัติ การตอบสนองต่อเหตุการณ์ การตรวจสอบและการควบคุมความมั่นคงสารสนเทศ จริยธรรมในความมั่นคงสารสนเทศ ประเด็นกฎหมายด้านความมั่นคงสารสนเทศ
Basic concepts and technologies of information security, information security management framework, information security risk management, information security policies and standards, information security awareness, disaster recovery, incident response, information security audit and control, ethics in information security, legal issues in information security.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนะนำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลบนเว็บ การทำธุรกิจแบบบีทูบี เว็บชุมชนและเว็บท่า สถาปัตยกรรมระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเครือข่าย เครื่องมือสำหรับสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การประพันธ์เว็บ หลักการออกแบบเว็บและปัจจัยชี้วัด ระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาความปลอดภัย กฏหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การโฆษณาบนเว็บ
Introduction to e-business, electronic retailing, electronic auction, B2B, communities web and web portals, e-business architectures, development of e-business web sites, network systems, e-business tools, web authoring, web design principles and measurement metrics, electronic payment system and security issues, e-business laws, e-business strategy, electronic advertisement.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
เทคโนโลยีโทรคมนาคม ธุรกิจการให้บริการเนื้อหาและโครงสร้างพื้นฐานด้านไอซีที เทคโนโลยีที่สำคัญสำหรับการควบรวมดิจิตอลและโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในยุคถัดไป การปรับเปลี่ยนโครงสร้างในธุรกิจโทรคมนาคมและไอซีที นโยบายด้านโทรคมนาคมและไอซีที ระเบียบข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Telecommunications technologies, ICT infrastructure service and content provider business, enabling technologies for digital convergence and next generation information infrastructure, changing structure of telecommunications and ICT industry, telecommunication and ICT policy, regulations and related laws.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
แนวคิดพื้นฐานของอัจฉริยะทางธุรกิจ สถาปัตยกรรมและโครงสร้างพื้นฐานความอัจฉริยะทางธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาคลังข้อมูล เทคนิคและเครื่องมือในการสร้างอัจฉริยะทางธุรกิจให้กับองค์กร การพัฒนาและจัดการข้อมูล โอแลป เหมืองข้อมูล การวัดผลการดำเนินงาน หลักการและวงจรของการพัฒนาระบบอัจฉริยะทางธุรกิจ การรู้จักเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและปฏิบัติในระบบอัจฉริยะทางธุรกิจ
Basic principles of business intelligence, architecture, components, and other core applications and technologies related, utilizing a data warehouse, ETL process, OLAP, data mining, conceptual modeling technique, business analytics, BI applications, and BI development process including performance considerations to enable students to develop the skills for the design and implementation of business intelligence systems
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ธรรมชาติของโครงการซอฟต์แวร์ รูปแบบกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดองค์การของโครงการ การประเมินโครงการ การวางแผน การจัดตารางการทำงาน การประมาณการขนาดและต้นทุน การบริหารทรัพยากร การตรวจสอบและควบคุม การบริหารความเสี่ยง การจัดการคอนฟิกกูเลชันของซอฟต์แวร์ การจัดการคุณภาพซอฟต์แวร์ ปัญหาที่เกิดขึ้นในโครงการทางซอฟต์แวร์ เครื่องมือในการบริหารโครงการ และ วิเคราะห์กรณีศึกษาโครงการซอฟต์แวร์ต่างๆ
Nature of software project, software development process models, project organization, project evaluation, project planning, scheduling, size and cost estimation, resource management, monitoring and control, risk management, software configuration management, software quality management, problems in software project, project management tools, and analysis of software project case studies.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of software engineering.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of software engineering.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเครือข่ายและระบบ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of networks and systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเครือข่ายและระบบ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of networks and systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านระบบสื่อประสมและระบบอัจฉริยะ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of multimedia and intelligent systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านระบบสื่อประสมและระบบอัจฉริยะ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of multimedia and intelligent systems.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology management.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology management.
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตัวเอง)
3 (3-0-6)
06017951 การโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ 3 (3-0-6)
OBJECT-ORIENTED PROGRAMMING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
การออกแบบและพัฒนาโปร แกรมเชิงอ็อบเจกต์ การห่อหุ้ม การประกอบ การมอบหมายให้กร ะทำแทน ภาวะนามธรรม ตัวประสาน การสืบทอด ภาวะพหุสัณฐาน การพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้และการจัดการกับเหตุการณ์ โครงสร้างข้อมูล เช่น แบบแถวลำดับและคอลเลคชัน การจัดการกับสิ่งผิดปกติ คลาสที่เกี่ยวข้องกับอินพุตและเอาต์พุต เธรด
Object-oriented program design and development; encapsulation; composition; delegation; abstraction; interface; inheritance; polymorphism; graphical user interface development and event handling; data structures e.g. arrays and collections; exception handling; input/output classes; threads.
06017952 การจำลองแบบซอฟต์แวร์ด้วยยูเอ็มแอล 3 (3-0-6)
SOFTWARE MODELING WITH UML
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
หลักการเชิงอ็อบเจกต์ การวิเคราะห์และออกแบบด้วยแนวคิดเชิงอ็อบเจกต์ การสร้าง แบบจำลองซอฟต์แวร์ด้วยภาษายูเอ็มแอล การพิจารณากรอบการพัฒนาและรูปแบบการออกแบบ การแจกแจงยูสเคส การวิเคราะห์และออกแบบโดยใช้ยูสเคสกำกับ
Object-oriented concept; object-oriented analysis and design; software model with unified modeling language (UML); framework and design pattern; use-case realization; use-case driven development.
06017953 เอสโอเอและการโปรแกรมเชิงบริการ 3 (3-0-6)
SOA AND SERVICE PROGRAMMING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
หลักการออกแบบสถาปัตยกรรมเชิงบริการ ลักษณะและประโยชน์ของตัวกลางเชื่อมต่อ บริการของระบบต่างๆ การจัดการกระบวนการทางธุรกิจ ประเภทของบริการ แนวคิดและโครงสร้าง ของเว็บเซอร์วิส มาตรฐานเว็บเซอร์วิสที่ใช้ภาษาเอกซ์เอ็มแอล เช่น โซพ ดับเบิลยูเอสดีแอล และยูดีดีไอ วิทยาการบริการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาและติดตั้งโปรแกรมประยุกต์เว็บเซอร์วิส หลักการและคุณลักษณะของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ รูปแบบการให้บริการของการประมวลผล แบบกลุ่มเมฆ เช่น ไอเอเอเอส พีเอเอเอส และเอสเอเอเอส
Concepts of service-oriented architecture (SOA); features and benefits of enterprise service bus (ESB); business process management (BPM); type of services; concepts and structures of web services; XML-based web services standards e.g. SOAP, WSDL and UDDI; information technology support service science; development and deployment of web service applications; cloud computing concepts and characteristics; cloud computing service models e.g. infrastructure as a service (IaaS), platform as a service (PaaS), and software as a service (SaaS).
06017954 การสื่อสารและเครือข่ายไร้สาย 3 (3-0-6)
WIRELESS COMMUNICATIONS AND NETWORKS
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี PREREQUISITE: NONE
ภาพรวมของการสื่อสารเคลื่อนที่และเครือข่ายไร้สาย พื้นฐานการส่งผ่านไร้สาย สัญญาณ ความถี่ การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ และเสาอากาศ เทคนิคการมอดดูเลท เทคนิคการมัลติเพล็กซ์ เทคนิคการสเปรดสเปรกตรัม เทคนิคการควบคุมการเข้าถึงพร้อมกันหลายทาง ระบบโทรคมนาคมไร้สาย ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบสื่อสารดาวเทียม และระบบการแพร่กระจายดิจิทัล เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย ซิกบี บลูทูธ วายฟายด์ วายมีเดีย และไวแมกซ์ ความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย โมบายไอพี เทคโนโลยีไร้สายในอนาคต
Overview of mobile communications and wireless networks; wireless transmission basis, signals, frequencies, radio propagation, and antennas; modulation techniques; multiplexing techniques; spread spectrum techniques; multiple access control techniques; wireless telecommunication systems, mobile telephone systems, satellite communication systems, and digital broadcasting systems; wireless network technologies, ZigBee, Bluetooth, Wi-Fi, WiMedia, and WiMAX; wireless network security; mobile IP; future wireless technologies.
06017955 ระบบและเทคโนโลยีแบบกระจาย 3 (3-0-6)
DISTRIBUTED SYSTEMS AND TECHNOLOGY
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
หลักการของระบบแบบกระจายและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง โดยจะอธิบายภาพรวมของ ระบบแบบกระจาย การติดต่อสื่อสารระหว่างโพ ร เ ซ ส ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล ร ะ ย ะไ ก ล เ ช่ น การเรียกโพรซีเจอร์ระยะไกล การเรียกใช้เมธอดระยะไกล สถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบกระจาย เช่น โฮสต์-เทอร์มินัล ไคลเอนท์-เซิ ร์ฟเวอร์ มิดเดิลแว ร์ เอเจนต์แบบเคลื่อนที่ และเพีย ร์-ทู-เพีย ร์ ชุดค าสั่งที่เคลื่อนย้ายได้ บริการต่าง ๆ ส าหรับระบบแบบกระจาย เช่น บริการไฟล์ บริการด้านชื่อ และบริการด้านเวลา ประเด็นการพิจารณาส าหรับระบบแบบกระจาย เช่น การเข้าจังหวะการท างาน การประสานการท างาน การควบคุมการใช้งานพร้อมกัน และการทำเร็บพลิเคชัน การทำให้ทนต่อความ ผิดพลาด การกู้คืนระบบ และความมั่นคงปลอดภัยในระบบแบบกระจาย นอกจากนี้จะอภิปรายเกี่ยวกับ เทคโนโลยีแบบกระจาย เช่น การทำคลัสเตอร์ การกระจายภาระงาน ระบบแบบเพียร์-ทู-เพียร์ การประมวลผลแบบกริด และเว็บเซอร์วิส
Concepts of distributed systems and technologies including distributed systems overview; inter-process communication; remote executing e.g. remote procedure call (RPC) and remote method invocation (RMI); distributed computing architectures e.g. host-terminal, client-server, middle-ware, mobile agent, and peer-to-peer; mobile code; services for distributed systems e.g.consideration issues for distributed systems e.g. synchronization, co-ordination, concurrency control, and replication; fault tolerance; recovery and security in distributed systems; discussions about distributed technologies e.g. clustering, load balancing, peer-to-peer systems, grid computing, and Web services.
06017956 การประเมินสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 3 (3-0-6)
PERFORMANCE EVALUATION OF COMPUTER SYSTEMS AND NETWORKS
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ภาพรวมของการประเมินสมรรถนะ วิธีการประเมินสมรรถนะ วิธีการและเครื่องมือ ประเมินสมร รถน ะแบบวัดจริง มาตรวัดสมรรถนะ การเป รียบเทียบสอง ระบบห รือมากกว่า การปรับแต่งสมรรถนะของระบบ การวิเคราะห์ปัญหาคอขวดของสมรรถนะ การกำหนดคุณลักษณะ ภาระงานของระบบ การวางแผนและการทำนายความจุ การออกแบบและวิเคราะห์การทดลอง การวิเคราะห์และแปลความหมายผลการประเมิน การสร้างตัวแบบโดยวิธีการวิเคราะห์ การสร้างตัวแบบ โดยวิธีการจำลอง ทฤษฎีแถวคอย การปฏิบัติการประเมินสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
Overview of performance evaluation; performance evaluation techniques; measurement techniques and tools; performance metrics; comparing two or more systems; system performance tuning; performance bottleneck analysis; system workload characterization; capacity planning and forecasting; experimental design and analysis; evaluation result analysis and interpretation; analytical modeling; simulation modeling; queuing theory; performance evaluation practices on computer systems and networks. file service, name/directory service, and time service
06017957 ทฤษฎีแถวคอยเบื้องต้น 3 (3-0-6)
INTRODUCTION TO QUEUING THEORY
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
คว ามน่าจะเป็น ตัวแป รสุ่ม การกระจายความน่าจะเป็น กระบวนการเฟ้นสุ่ม กระบวนการมาร์คอฟ การจำแนกแบบจำลองระบบแถวคอย ระบบแถวคอยแบบมาร์คอฟ และแบบอื่น ๆ ระบบแถวคอยแบบมาร์คอฟที่มีผู้ให้บริการเพียงหน่วยเดียว ระบบแถวคอยแบบมาร์คอฟที่มีผู้ให้บริการ หลายหน่วย ระบแถวคอยแบบกึ่งมาร์คอฟ ระบบแถวคอยที่มีการจัดลำดับความส าคัญ โครงข่ายแถวคอย และหัวข้อวิจัยปัจจุบันที่เกี่ยวกับทฤษฎีแถวคอยและการประยุกต์ใช้งาน
Probability; random variable; probability distribution; stochastic process; markov processes; classification of queuing models; markovian and non-markovian queuing systems; single server markovian system; multi server markovian system; semi markovian system; priority queuing; networks of queues; current research topics in queuing theory and its applications.
06017958 เทคโนโลยีการจัดการความรู้ 3 (3-0-6)
KNOWLEDGE MANAGEMENT TECHNOLOGY
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ความรู้พื้นฐานของการจัดการองค์ความรู้ การจัดการองค์ความรู้ในบริบทของการ สนับสนุน การตัดสินใจอย่างชาญฉลาด ความสัมพันธ์
ของการจัดการองค์ความรู้กับสาขาวิชาอื่น ๆ เทคโนโลยีการจัดการความรู้ ระบบฐานความรู้ กลไกอนุมาน การค้นพบความรู้จากฐานข้อมูล ระบบการให้เหตุผลเชิงกรณี หัวข้อวิจัยด้านการจัดการองค์ความรู้และวิศวกรรมความรู้
Fundamental of knowledge management (KM); KM context and intelligent decision support systems (DSS); relationships of KM and other disciplines; knowledge management technology; knowledge-based systems; inference engine; knowledge discovery from database; case-based reasoning; research issues in KM and knowledge engineering (KE).
06017959 การเรียนรู้ของเครื่องจักร 3 (3-0-6)
MACHINE LEARNING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ความรู้พื้นฐานของการเรียนรู้ของเครื่องจักร การเรียนรู้แบบมีผู้สอน การถดถอยเชิงเส้น วิธี กำลังสองน้อยที่สุด การถดถอยโลจิสติก โครงข่ายประสาทเทียม อัลกอริทึมเพื่อนบ้านที่ใกล้ที่สุด ซัพพอร์ทเวกเตอร์แมชชีน การเรียนรู้แบบไม่มีผู้สอน การจัดกลุ่มแบบเคมีน อัลกอริทึมการหาค่าความ คาดหวังสูงสุด การลดมิติข้อมูล การวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก การตรวจสอบไขว้ การประเมินผลของ การทำนาย การ ประยุกต์ใช้ของการเรียนรู้ของเครื่องจักร
Basic of machine learning; supervised learning; linear regression; least squares; logistic regression; neural network; k-nearest neighbour; support vector machine; unsupervised learning; k-mean clustering; expectation-maximization algorithm; dimensionality reduction; principal component analysis; cross-validation; evaluating estimator performance; machine learning applications.
06017960 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3 (3-0-6)
NATURAL LANGUAGE PROCESSING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ภาพรวมและโมดูลของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ความสัมพันธ์กับสาขาวิจัยอื่นๆ หน่วยคำและการประมวลผลหน่วยคำ ทรัพยากรด้านภาษา การแจกแจงข้อความและประโยค การแทน คำศัพท์และการแทนความหมาย งานประยุกต์ของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ การสกัดข่าวสาร และการค้นคืน งานแปลภาษาด้วยเครื่องจักร งานวิจัยด้านการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Overview and modules of natural language processing (NLP); relationships with other disciplines; lexicon and morphological analysis; language corpus resources; phrase and sentence parsing; lexical semantic and semantic representation; applications of NLP; information extraction and information retrieval; machine translation; research issues in NLP.
06017961 การค้นคืนสารสนเทศ 3 (3-0-6)
INFORMATION RETRIEVAL
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการค้นคืนสารสนเทศ สถาปัตยกรรมของระบบค้นคืน สารสนเทศ เค รื่ องมือแ ล ะการประเมิน ผลการค้นคืนสา ร สนเทศ แบบจำล องการจัด ลำดับ แบบพื้น ฐาน ของการค้นคืนสาร สนเทศ คำศัพท์และรายการของการจัดตำแหน่ง การ สร้างดัชนีค้นห า การถ่วงค่าน้ าหนักของคำ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบค้นคืนสารสนเทศกับผู้ใช้ การค้นคืนสารสนเทศ ซึ่งเน้นความหลากหลายของข้อมูลและการประเมินผล การตอบสนองที่เกี่ยวข้องความต้องการ สารสนเทศ แบบจำลองการจัดลำดับขั้นสูงของการค้นคืนสารสนเทศ การจัดกลุ่มและการจำแนกข้อความ การกรองข้อมูลสารสนเทศ การแนะนำและกรองข้อมูลสารสนเทศแบบความร่วมมือ การรวบรวม วิเคราะห์ และสืบค้นข้อมูลบนเว็บ
Introduction to information retrieval (IR); architecture of IR systems; IR evaluation and tools e.g. basic IR ranking models, term vocabulary and postings list, search index construction, term weighting, interactive IR, diversity IR and evaluation, relevance feedback, advanced IR ranking models; clustering; text categorization; information filtering; collaborative recommendations/filtering; web crawling, analysis, and retrieval.
06017962 การโฆษณาเชิงคำนวณ 3 (3-0-6)
COMPUTATIONAL ADVERTISING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการโฆษณาเชิงคำนวณ การออกแบบตลาดสินค้า เศรษฐศาสตร์ การค้นหาที่ได้รับการอุปถัมภ์จากนักโฆษณา การค้นคืนและการเข้าเทียบโฆษณา การโฆษณาที่ขึ้นอยู่กับ บริบทผู้ใช้ การโฆษณาเชิงภาพบนเว็บเพจ การวางเป้าหมายโฆษณา ระบบแนะน าการโฆษณาบนเว็บ และมือถือ การประมูลราคาโฆษณา
Introduction to computational advertising; marketplace design; economics; sponsored search; advertisement retrieval and matching; contextual advertising; display advertising; advertisement targeting; recommender systems; web and mobile advertising; advertisement price auction.
06017963 ระบบและการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 3 (3-0-6)
E-BUSINESS SYSTEMS AND MANAGEMENT
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
บทบาทและความส าคัญของเศรษฐกิจดิจิทัล แนะน าธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กลยุทธ์ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการทำธรุกิจ อิเล็กทรอนิกส์ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลบนเว็บ การทำธุรกิจ แบบบีทูบี เว็บท่า สถาปัตยกรรมธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือสำหรับสร้างระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ ชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ ประเด็นด้านความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว สื่อสังคมออนไลน์สำหรับธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษาระบบและการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
Role and importance of digital economy; introduction to E-business; Ebusiness strategy; E-business model; electronic retailing; electronic auction; B2B; web portals; E-business architectures; E-business tools; electronic payment system; security and privacy issues; social media for E-business; case studies of E-business systems and management.
06017964 การสร้างคลังข้อมูล 3 (3-0-6)
DATA WAREHOUSING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
แนวคิดของคลังข้อมูล ตลาดข้อมูล สถาปัตยกรรมสภาพแวดล้อมของคลังข้อมูล เทคนิคการจำลองแบบและออกแบบคลังข้อมูลกลาง การสร้างแบบจำลองข้อมูลหลายมิติ เค้าร่างแบบดาว เค้าร่างแบบเกล็ดหิมะ เค้าร่างแบบหมู่ดาว การนำข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูลเพื่อพร้อมใช้งาน กระบวนการ การสกัด แปลง และบรรจุข้อมูล (อีทีแอล) เครื่องมือประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์ (โอแล็ป) การประยุกต์ใช้คลังข้อมูลและความชาญฉลาดทางธุรกิจ บทบาทของคลังข้อมูลในการสนับสนุนระบบ สนับสนุนการตัดสินใจ
Data warehouse concepts; data marts; data warehouse environment architectures; modeling and design techniques for a central data warehouse; multidimensional data modeling; star schema; snowflake schema; fact constellation; populating the data warehouse environment; extract, transform, load (ETL); online analytical processing (OLAP); data warehouse and business intelligence application; roles of data warehouse in supporting decision support systems.
06017965 ระบบอัจฉริยะ 3 (3-0-6)
INTELLIGENT SYSTEMS
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
การแทน ความรู้ต้นไม้การตัดสินใจ ออนโทโลยีระบบ ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ กฎการคิดอย่างมีเหตุผล การจัดการความไม่แน่นอน โครงข่ายเบย์ โครงข่ายประสาทเทียม วิศวกรรมความรู้
Knowledge representation; decision trees; ontology; rule-based expert systems; reasoning; handling uncertainty; Bayesian networks; artificial neural networks; knowledge engineering.
06017966 การทำเหมืองข้อมูล 3 (3-0-6)
DATA MINING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
กระบวนการทำเหมืองข้อมูลที่ส าคัญ เช่น CRISDM SEMMA การทำเหมืองข้อมูล ในรูปแบบต่าง ๆ การแบ่งกลุ่มข้อมูลโดยใช้อัลกอริทึมเคมีนส์และโคโฮเนนนิวเรอลเน็ตเวิร์ก การแบ่งกลุ่ม ข้อมูลโดยอาศัยความหนาแน่นข้อมูล การจัดกลุ่มข้อมูลโดยใช้อัลกอริทึมในการ สร้างแบบจ าลองต้นไม้ เพื่อการตัดสินใจและแบคพรอพโพเกชัน นิวเรอลเน็ตเวิร์ก การจัดกลุ่มข้อมูลโดยใช้นาอีฟเบย์ การค้นหากฎความสัมพันธ์ ของข้อมูลโดยการใช้อะพิออริอัลกอริทึม การค้นหากฎความสัมพันธ์ของข้อมูลโดยการใช้เอฟพีทรี โปรแกรมที่ใช้ในการทำเหมืองข้อมูล การประยุกต์ใช้งานการทำเหมืองข้อมูลต่าง ๆ สถาปัตยกรรมการประมวลผลข้อมูลแบบฮาร์ดูปและ แมบรีดิ้ว การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่โดยใช้เทคโนโลยีฮาร์ดูป
Data mining processes e.g. CRISDM and SEMMA; database segmentation using K-means algorithm; Kohonen neural networks and density-based clustering algorithm classification using decision trees; backpropogation neural networks; Naive Bayes model; association rule discovery using apiori algorithm and FP Tree algorithm; commercial data mining software; applications of data mining; Hadoop and MapReduce architecture, big data analytics using Hadoop technology.
06017967 ปัญญาเชิงคำนวณด้วยแนวคิดธรรมชาติ 3 (3-0-6)
NATURE-INSPIRED COMPUTATIONAL INTELLIGENCE
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
โครงข่ายประสาทเทียม เจเนติกอัลกอริทึม พาติคอลสวอม ออปติมัยเซชัน อัลกอริทึมอาณาจักรมด อัลกอริทึมการผสมพันธุ์ของผึ้ง และอัลกอริทึมในปัจจุบันที่ใช้แนวคิดจาก ธรรมชาติ
Artificial neural networks; genetic algorithm; particle swarm optimization; ant colony optimization; marriage in honey bees optimization; and recent nature-inspired algorithms.
06017968 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงธุรกิจ 3 (3-0-6)
BUSINESS DATA ANALYTICS
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ภาพรวมของระบบ MIS; DSS และ EIS กับการวิเคราะห์ธุรกิจอัจฉริยะ เครื่องมือ และเทคนิคสำหรับการตัดสินใจ เช่น รายงานทางธุรกิจ การวิเคราะห์ภาพและการจัดการผลประกอบการ ทางธุรกิจ คลังข้อมูล เหมืองข้อมูล การประมวลผลข้อความ เช่น การวิเคราะห์ข้อความ การท าเหมืองข้อความ การวิเคราะห์อารมณ์ การประมวลผลเว็บ เช่น การวิเคราะห์เว็บ การทำเหมืองเว็บ และการวิเคราะห์เครือข่ายสังคม ระบบหลายเกณฑ์และการหาค่าดีที่สุด การจัดการความรู้และระบบที่ ทำงานร่วมกัน ข้อมูลขนาดยักษ์และทิศทางของการวิเคราะห์เชิงธุรกิจ
Overview of MIS, DSS, and EIS with business intelligence analytics; tools and techniques for decision making such as business reporting, visual analytics and business performance management; data warehousing; data mining; text processing such as text analytics, text mining, sentiment analysis; web processing such as web analytics, web mining, and social network analytics; optimization and multi-criteria systems; knowledge management and collaborative systems; big data and future directions for business analytics.
06017969 การออกแบบส่วนต่อประสานและการโต้ตอบกับผู้ใช้ 3 (3-0-6)
USER INTERFACE AND INTERACTION DESIGN
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ทฤษฎีการรับรู้ของมนุษย์และการคิดอ่านรู้จำ อุปกรณ์ต่อประสานระหว่างมนุษย์กับ คอมพิวเตอร์ รูปแบบการโต้ตอบ แนวคิดการออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง การวิเคราะห์ผู้ใช้และงาน หลักการออกแบบการโต้ตอบกับผู้ใช้และเทคนิคการประเมินผล สถาปัตยกรรมสารสนเทศ หลักปฏิบัติใน การออกแบบเว็บ หลักปฏิบัติในการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สำหรับโปรแกรมประยุกต์บน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะและแบบพกพาได้ เครื่องมือในการออกแบบและสร้างตนแบบส่วนต่อ ประสาน
Human perception and cognitive theories; human-computer interface devices; interaction styles; user-centered design concept; user and task analysis; interaction design principles and evaluation techniques; information architecture; web design guidelines; user interface design guidelines for desktop and mobile applications; user interface design and prototyping tools.
06017970 การประมวลผลภาพและวีด ิทัศน์ 3 (3-0-6)
IMAGE AND VIDEO PROCESSING
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
แน ะนำความรู้เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติในการประมวลผลภาพและวีดีทัศน์ การสร้างภาพและการแทนภาพ การประมวลผลภาพลักษณ์ฐานสอง การแปลงภาพ การปรับปรุงภาพ การกำจัดสัญญาณรบกวน การบีบอัดภาพ การแบ่งส่วนภาพ การสกัดและตรวจจับคุณลักษณะเด่นในภาพ สีและโทนสี การรู้จ าวัตถุ การประมวลผลวีดีทัศน์แบบสามมิติ การประมวลผลวีด ิทัศน์แบบพลวัตร การประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ
Introduction to the theory and practice of image and video computing; image formation and representation; binary image processing; image transformation; image enhancement; noise removal; image compression; image segmentation; feature extraction and detection; color and shading; object recognition; 3D vision; dynamic vision; applications.
06017971 เทคโนโลยีการบีบอัดข้อมูล 3 (3-0-6)
DATA COMPRESSION TECHNOLOGY
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
การเข้ารหัสแบบฮัฟแมน การเข้ารหัสแบบเลขคณิต การเข้ารหัสแบบเลมเพียลซิป การเข้ารหัสแบบคาดการณ์ เช่น การแปลงแบบเบอร์โรว์วิลเลอร์ การควนไทเซชันแบบสเกลลา การควนไทเซชันแบบเวกเตอร์ การแปลงแบบไม่ต่อเนื่องของวอลช์ฮาดามาร์ด การแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง ของโคไซน์และการประยุกต์ใช้งาน การเข้ารหัสแบบเวฟเลทเป็นฐานและการประยุกต์ใช้งาน การเข้ารหัสภาพแบบแฟรกตอล และการเข้ารหัสวิดีโอ
Huffman coding; arithmetic coding; Lempel Ziv coding; predictive coding e.g. Burrow Wheeler transform; scalar quantization; vector quantization; discrete Walsh Hadamard transform; discrete cosine transform and its application; wavelet-based coding and its application; fractal image coding and its application; video coding.
06017972 หัวข้อขั้นสูงด้านการทดสอบและประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ 3 (3-0-6)
ADVANCED TOPICS IN SOFTWARE TESTING AND QUALITY ASSURANCE
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ทบทวนนิยามและชนิดของการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์และการทดสอบซอฟต์แวร์ เทคนิคการทดสอบ การออกแบบการทดสอบ การจัดการและตัววัดการทดสอบ มาตรฐานการทดสอบ หัวข้อวิจัยด้านการประกันคุณภาพและการทดสอบซอฟต์แวร์
Reviews of definitions and types of software quality assurance (SQA) and software testing; testing techniques; testing design; testing management and metrics; testing standards; research topics in SQA and software testing.
06017973 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และแอนิเมชันสามมิติ 3 (3-0-6)
3D COMPUTER GRAPHICS AND ANIMATION
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
แนะนำระบบการสร้างภาพกราฟิกส์และภาพแอนิเมชันสามมิติ หลักการจำลองรูปทรง เช่น รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน การแปลงเชิงเรขาคณิต และการฉายภาพ เทคนิคการสร้างภาพพื้นฐานและขั้นสูง เทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยอาศัยเฟรมหลักและเทคนิคการ ประมาณค่า เทคนิคด้านไคเนเมติกส์แบบไปข้างหน้าและย้อนกลับ หลักการสร้างภาพเคลื่อนไหวขั้นสูง เทคนิคการประมวลผลหลังการสร้างภาพกราฟิก พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์และการ เขียนโปรแกรมเกม
Introduction to computer graphics and animation systems, modeling concepts such as geometric primitives, geometric transformations and projections, basic and advanced rendering techniques, basic animation techniques such as key-frame animation and interpolation methods, forward and inverse kinematics techniques, advanced animation concepts, post-processing techniques, fundamentals of interactive computer graphic and game programming.
06017974 หัวข้อคัดสรรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 1
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology.
06017975 หัวข้อคัดสรรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 2
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology
06017976 หัวข้อคัดสรรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 3 (2-2-5)
SELECTED TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 3
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology.
06017977 หัวข้อคัดสรรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 3 (2-2-5)
SELECTED TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 4
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology.
06017978 หัวข้อปัจจุบันทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 3 (3-0-6)
CURRENT TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 1
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology.
06017979 หัวข้อปัจจุบันทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 3 (3-0-6)
CURRENT TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 2
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology
06017980 หัวข้อปัจจุบันทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 3 (2-2-5)
CURRENT TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 3
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology.
06017981 หัวข้อปัจจุบันทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 3 (2-2-5)
CURRENT TOPICS IN INFORMATION TECHNOLOGY 4
วิชาบังคับก่อน: ไม่มี Prerequisite: None
ศึกษาในหัวข้อและความก้าวหน้าทางวิชาการที่น่าสนใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก
Recent advances and others topics of interest selected by the instructor in the field of information technology.